แสดงกระทู้

This section allows you to view all posts made by this member. Note that you can only see posts made in areas you currently have access to.


Messages - siritidaphon

หน้า: [1] 2 3 ... 21
1
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเสียงดัง
ในโรงงานอุตสาหกรรม
โรงงานหรือสถานประกอบกิจการที่มีปัญหาด้านเสียงเกินค่ามาตรฐาน อาจสร้างผลกระทบทั้งด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานต่อพนักงานในโรงงานเอง หรืออาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงต่อชุมชนและสภาพแวดล้อมที่อยู่ด้านนอกโรงงาน หากเจ้าของแหล่งกำเนิดเสียงหรือผู้เกี่ยวข้องปล่อยปละละเลย ไม่จัดทำโครงการควบคุมเสียงหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าวไม่สำเร็จ จะทำให้มีผลกระทบตามมา เช่น
•   เป็นผู้กระทำผิดกฎหมายด้านเสียง มีทั้งโทษปรับและจำคุก
•   ลูกจ้างอาจเกิดภาวะสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราวหรือแบบถาวร
•   ประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานลดลงจากเสียงเกินค่ามาตรฐาน
•   ถูกร้องเรียนจากชุมชนหรือผู้ได้รับผลกระทบทางเสียงที่อยู่นอกโรงงาน
•   โรงงานหรือสถานประกอบกิจการอาจถูกสั่งปิดปรับปรุง จนกว่าจะแก้ไขแล้วเสร็จ

ทำไมต้องใช้บริการจาก
“NEWTECH INSULATION” ในการควบคุมเสียง?
ด้วยประสบการณ์กว่า 15 ปี ในการควบคุมเสียงอุตสาหกรรม เรามีความพร้อมทั้งด้านบุคลากรเฉพาะทางที่มีความรู้ด้านเสียงและความสั่นสะเทือน เครื่องมืออันทันสมัยที่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด รวมถึงประสบการณ์ด้านการแก้ไขปัญหาเสียงอุตสาหกรรมที่มีทั้งในและต่างประเทศ ผู้ใช้บริการจึงมั่นใจได้ว่าปัญหาด้านเสียงในโรงงานหรือสถานประกอบกิจการจะได้รับการแก้ไขได้อย่างตรงจุด ด้วยค่าใช้จ่ายที่น้อยที่สุด เพราะเราเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมเสียงในอุตสาหกรรม
– บริษัทฯ ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตเป็นนิติบุคคลผู้ให้บริการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานเกี่ยวกับระดับเสียง โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
– บุคลากรของบริษัทฯ ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ควบคุมมลพิษเสียงและความสั่นสะเทือน จากสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
– มีทีมงานที่มากประสบการณ์และความรู้ ได้แก่ วิศวกร นักสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ช่างเทคนิค รวมไปถึงช่างประกอบและติดตั้งระบบควบคุมเสียง
– มีเครื่องมือที่ได้มาตรฐานไว้ให้บริการทั้งด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
– มีสินค้าสำหรับควบคุมเสียงและความสั่นสะเทือนให้เลือกหลากหลายรูปแบบ เช่น ผนังกันเสียง ห้องเก็บเสียง ม่านกันเสียง ตู้ครอบลดเสียง แจ็คเก็ตลดเสียง ไซเลนเซอร์ อคูสติคลูเวอร์ อุปกรณ์แยกความสั่นสะเทือน เป็นต้น
– มีการประเมินหรือทำตัวแบบจำลองระดับเสียง ก่อน-หลัง ปรับปรุงให้ลูกค้าใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการแก้ปัญหาด้านเสียง
– รับประกันระดับเสียงที่ลดลง อยู่ในเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด
– รับประกันคุณภาพสินค้าและฝีมือการติดตั้งทุกงาน

บริษัท นิวเทค อินซูเลชั่น จำกัด
ผู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมเสียงในโรงงานอุตสาหกรรม
จากประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาด้านเสียงมายาวนาน ไม่ว่าจะเป็นเสียงทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และเสียงทางสิ่งแวดล้อม
ทางบริษัทฯ ยินดีให้คำแนะนำที่ทำได้จริงสำหรับการแก้ปัญหาด้านมลภาวะทางเสียงที่เกิดขึ้น เพื่อให้ทั้งโรงงาน พนักงาน หรือชุมชนโดยรอบอยู่ร่วมกันได้
“เพราะเรา…เข้าใจเรื่องเสียง”


สนใจสั่งซื้อ
เบอร์โทร:  02-583-8035 , 02-583-8034, 098-995-4650
E-mail: contact@newtechinsulation.com
Line ID: @newtechinsulation
Facebook: newtechthai
Instagram: newtechinsulation
เว็บไซด์: https://www.noisecontrol365.com/


2
วัดท่าคอยดื่มด่ำกับความงามตามธรรมชาติแนะนำใส่ชุดขาว เจริญสติเพื่อเติมเต็มชีวิตของคุณ

วัดท่าคอยเป็นวัดเก่าแก่ที่ตั้งอยู่ที่จังหวัดเพชรบุรีเป็นวัดที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์และศิลปกรรมมีพระพุทธรูปและภาพเขียนฝาผนังที่สวยงามมากมาย มีประวัติศาสตร์อันยาวนานที่ย้อนไปได้ถึงหลายศตวรรษใส่ชุดขาว ชุดขาวชาย ชุดขาวหญิง ชุดขาวปฏิบัติธรรม มาเที่ยววัดวัดท่าคอยมีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่วิจิตรบรรจงและสถาปัตยกรรมไทยสะท้อนให้เห็นถึงรูปแบบศิลปะของภูมิภาคนี้

ความสำคัญทางประวัติศาสตร์ของวัดท่าคอยทำให้ที่นี่เป็นสถานที่ที่น่าสนใจสำหรับทั้งผู้แสวงหาความรู้ทางจิตวิญญาณและผู้ที่ชื่นชอบประวัติศาสตร์
การปฏิบัติธรรม
ที่วัดท่าคอย ผู้เยี่ยมชมสามารถเข้าร่วมการปฏิบัติธรรมต่างๆ ที่ออกแบบมาเพื่อให้เข้าใจคำสอนของพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้งยิ่งขึ้น วัดแห่งนี้จัดให้มีการทำสมาธิ เวิร์กช็อปการฝึกสติ และการสอนโดยพระภิกษุผู้มีประสบการณ์เป็นประจำ การปฏิบัติเหล่านี้จะช่วยให้ผู้คนได้ฝึกฝนความสงบภายใน การตระหนักรู้ในตนเอง และความเมตตา ซึ่งเป็นหลักการสำคัญของพระพุทธศาสนา

จุดเด่นประการหนึ่งของการเยี่ยมชมวัดท่าคอยคือโอกาสที่จะได้เดินจงกรมทำสมาธิท่ามกลางสวนอันเขียวขจีของวัด บรรยากาศที่เงียบสงบเป็นฉากหลังที่สมบูรณ์แบบสำหรับการไตร่ตรองและเชื่อมโยงกับธรรมชาติ ช่วยเพิ่มประสบการณ์การทำสมาธิโดยรวม

การมีส่วนร่วมของชุมชน
วัดท่าข่อยไม่เพียงแต่เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมส่วนบุคคลเท่านั้น แต่ยังเน้นการมีส่วนร่วมของชุมชนอีกด้วย วัดมักจัดกิจกรรมทำบุญ เช่น การทำบุญตักบาตรและการบริการชุมชน เพื่อกระตุ้นให้ผู้มาเยี่ยมชมมีส่วนสนับสนุนชุมชนท้องถิ่นในเชิงบวก การมีส่วนร่วมในกิจกรรมเหล่านี้ช่วยส่งเสริมความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งและเสริมสร้างคุณค่าของการมีน้ำใจและความเอื้ออาทร

ประสบการณ์การเยี่ยมชม
หากวางแผนจะไปเที่ยววัดท่าคอย ควรไปถึงแต่เช้าเพื่อร่วมตักบาตรตอนเช้า ซึ่งพระสงฆ์จะรับเครื่องเซ่นไหว้จากชุมชน การปฏิบัตินี้ถือเป็นสถานที่ที่งดงามและเปิดโอกาสให้ผู้มาเยือนได้สัมผัสประสบการณ์ทางวัฒนธรรมที่แท้จริง

บริเวณวัดได้รับการดูแลเป็นอย่างดี มีจุดสงบเงียบเหมาะแก่การนั่งสมาธิหรือดื่มด่ำกับความงามตามธรรมชาติของบริเวณนี้ ผู้เยี่ยมชมควรแต่งกายสุภาพและปฏิบัติตามประเพณีท้องถิ่นระหว่างที่เข้าพัก

วัดท่าคอยในจังหวัดเพชรบุรีเป็นเสมือนประภาคารแห่งความสงบสุขและการเติบโตทางจิตวิญญาณ ไม่ว่าคุณจะแสวงหาวิธีปฏิบัติธรรมให้ลึกซึ้งยิ่งขึ้น เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับคำสอนของพุทธศาสนา หรือเพียงแค่เพลิดเพลินไปกับความเงียบสงบของบริเวณโดยรอบ วัดแห่งนี้ก็พร้อมมอบประสบการณ์อันเป็นเอกลักษณ์และเติมเต็มชีวิตของคุณ คว้าโอกาสในการปฏิบัติธรรมที่วัดท่าคอยและปล่อยให้คำสอนของพุทธศาสนาช่วยเติมเต็มชีวิตของคุณ

3
ปล่อยรถผู้บริหาร Volvo XC90 Recharge Ultimate T8 Plug-in Hybrid Bright

วอลโว่ Volvo XC90 Recharge Ultimate T8 Plug-in Hybrid Bright ปี 2023
Volvo XC90  Recharge Ultimate T8 Plug-in Hybrid Bright ขุมพลัง T8 Twin Engine ์Drive E เบนซิน 2 ลิตร 4 สูบ เทอร์โบชาร์จ และมอเตอร์ไฟฟ้า อัพเกรดด้วยระบบทำกรองอากาศขั้นสูง Advanced Air Cleaning (AAC) พร้อมเซ็นเซอร์ตรวจจับและวัดค่าฝุ่นละออง PM2.5, ระบบเสียงระดับโลกจาก Bowers &Wilkins Premium, แท่นชาร์จโทรศัพท์มือถือแบบไร้สาย

หมายเหตุ : รายละเอียดของรถยนตอ์าจมีการเปลี่ยนแปลงภายหลัง

รถผู้บริหาร รถทดลองขับ ไมล์น้อย ราคาและโปรโมชั่นพิเศษ

โปรโมชั่นพิเศษ
ตั้งแต่ 14 มี.ค. - 31 มี.ค. 2568
วารันตีศูนย์ เริ่ม 29/08/24 สิ้นสุด 28/08/29,ฟรี ประกันภัยชั้น 1 พร้อม พรบ.
รับประกันคุณภาพรถ 5 ปีหรือ 150,000 กม.,บริการช่วยเหลือฉุกเฉิน 5 ปี (24 ชั่วโมง)

ราคาพิเศษ 3,690,000 บาท

สนใจสอบถา มรายละเอียดกดลิ้ง https://www.checkraka.com/flashdeal/car

รายละเอียดเบื้องต้น
   แบรนด์             Volvo
   รุ่น                 วอลโว่ Volvo XC90 Recharge Ultimate T8 Plug-in Hybrid Bright ปี 2023
   ประเภทรถ        รถอเนกประสงค์ SUV, รถไฮบริด
   ปีที่เปิดตัว        2023


4
รถไฟฟ้า ev โอโมดา Omoda-C5 EV Long Range Plus-ปี 2024
899,000 บาท

โอโมดา Omoda-C5 EV Long Range Plus-ปี 2024
OMODA C5 EV รุ่น Long Range Plus  รถยนต์ครอสโอเวอร์ SUV พลังงานไฟฟ้า 100% ด้วยระบบขับเคลื่อนล้อหน้าด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า 1 ตัว ให้กำลังสูงุด 150 กิโลวัตต์ (204 แรงม้า) แรงบิด 340 นิวตันเมตร ส่วนแบตเตอรี่มีความจุ 61 กิโลวัตต์-ชั่วโมง สามารถจขับเคลื่อนได้ถึง 505 กิโลเมตร (ตามมาตรฐาน NEDC) หรือ 430 กิโลเมตร (ตามมาตรฐาน WLTP) รองรับการชาร์จกระแสสลับ (AC) 9.9 กิโลวัตต์ และ รองรับการชาร์จกระแสตรง (DC) 80 กิโลวัตต์ และสามารถเร่งจาก 0-100 กิโลมตร/ชั่วโมงได้ภายใน 7.2 วินาที ทำความเร็วสูงสุดได้ที่ 172 กิโลเมตร/ชั่วโมง

รายละเอียดเบื้องต้น
   แบรนด์           Omod
   รุ่น              โอโมดา Omoda-C5 EV Long Range Plus-ปี 2024
   ประเภทรถ        รถอเนกประสงค์ SUV, Electric - EV
   ปีที่เปิดตัว         2024
   ราคา            899,000 บาท

ดีไซน์
   ภายนอก
อุปกรณ์ชุดแต่ง (ตกแต่งภายนอกแบบสปอร์ตแพ็กเกจ,ตะขอเกี่ยวลากจูงด้านหน้า,ตกแต่งบริเวณขอบประตูด้านนอกด้วยสีดำด้าน)
สปอยเลอร์หลัง
ไฟตัดหมอก (หน้า-หลัง)
ระบบควบคุมระยะการจอด (เซ็นเซอร์ช่วยจอดรถด้านหน้าและด้านหลัง)
ระบบไล่ฝ้ากระจกมองข้าง
ไฟท้าย LED (ไฟเลี้ยวด้านท้ายแบบวิ่ง (sequential))
ขนาดยางหน้า-หลัง (215/55 R18)
ไฟ Daytime Running Lights (แบบ LED)
ไฟหน้า LED
ล้ออัลลอย (18 นิ้ว)
ยางอะไหล่สำรอง (จะเป็นชุดซ่อมยางกรณีฉุกเฉิน)

   ภายใน
พวงมาลัยหุ้มหนัง
กระจกมองหลังตัดแสง (อัตโนมัติ)
ระบบปรับรูปแบบการขับขี่ (ECO, Normal, Sport)

สเปค
   มอเตอร์ไฟฟ้า           มอเตอร์ไฟฟ้า 1 ตัว ให้กำลังสูงุด 150 กิโลวัตต์ (204 แรงม้า) แรงบิด 340 นิวตันเมตร
   กำลังเครื่องยนต์ (แรงม้า)  แรงม้า
   ระบบเกียร์              เกียร์อัตโนมัติ
   รูปแบบเกียร์
   ระบบเบรค ABS         มี (ที่มากับระบบหน่วงแรงเบรกอัตโนมัติ)
   ชนิดแบตเตอรี่          ไฟฟ้า
   ความจุแบตเตอรี่         61 kWh
   ระยะทางวิ่ง/การชาร์จ 1 ครั้ง   505 กิโลเมตร (ตามมาตรฐาน NEDC) หรือ 430 กิโลเมตร (ตามมาตรฐาน WLTP)
   น้ำหนักตัวรถ                 -
   ประเภทยางรถยนต์            -
   ขนาดล้อ (นิ้ว)             ล้ออัลลอย (18 นิ้ว)
   ระบบขับเคลื่อน              ขับเคลื่อนล้อหน้า

ระบบความปลอดภัยระบบความปลอดภัย

อุปกรณ์ความปลอดภัย
ระบบควบคุมการทรงตัวอัตโนมัติ (ESP, ระบบป้องกันล้อหมุนฟรี TCS,ระบบช่วยลดความเสียงจากการพลิกคว่ำ RSC)
ดิสก์เบรก 4 ล้อ (ด้านหน้าพร้อมเจาะรูระบายความร้อน)
เซ็นทรัลล็อค
กุญแจรีโมท (แบบ Keyless)
ไฟเบรกดวงที่ 3 (LED)
ระบบกระจายแรงเบรก EBD (,ระบบช่วยเบรก BAS,ระบบช่วยเบรกฉุกเฉิน EBA,ระบบลดกำลังขับเคลือนเพือช่วยเบรก BOS,ระบบช่วยเบรกอัตโนมัติหลังการเกิดอุบัติเหตุ MCB,ระบบช่วยเบรกฉุกเฉินอัตโนมัติ AEB)
ระบบปลดล็อครถอัตโนมัติกรณีอุบัติเหตุ
อุปกรณ์เสริมความปลอดภัยอื่นๆ (แผ่นปองกันใต้ห้องเครือง,เบรกไฟฟ้า,ระบบเตือนการล็อกประตู,ระบบเตือนฝากระโปรงหน้าปิดไม่สนิท,ระบบเตือนบานประตูท้ายปิดไม่สนิท,ระบบล็อกเพือป้องกันเด็กเปิดประตูจากในรถ,ระบบป้องกันการโจรกรรม,ระบบเตือนการออกนอกเลน LDW,ระบบป้องกันการออกนอกเลน LDP,ระบบช่วยเหลือเพื่อ)
เข็มขัดนิรภัย (ระบบแจ้งเตือนการคาดเข็มขัดนิรภัยสำหรับผู้โดยสารด้านหลัง)
ระบบช่วยการออกตัวขณะจอดบนทางลาดชัน (ระบบป้องกันรถไหลเมื่อขึ้นทางลาดชัน HAC,ระบบควบคุมความเร็วขณะลงทางลาดชัน HDC)
อื่นๆ (ระบบควบคุมรถเพื่อหลีกเลี่ยงอุบัติเหตุ IES,ระบบเตือนเมือเป'ดประตู DOW, ระบบช่วยควบคุมรถให้อยู่ในเลน ELK,ระบบแจ้งเตือนการออกตัว,ระบบรักษารถให้อยู่กลางเลน ICA, สัญญาณแจ้งเตือนเมื่อหยุดรถกรณีฉุกเฉิน)
กล้อง (แสดงภาพด้านหลังขณะถอย)
ระบบช่วยเตือนอาการเหนื่อยล้าขณะขับขี่ (ATTENTION ASSIST) (DMS)
เทคโนโลยีสัญญาณเตือนเมื่อเสี่ยงต่อการชนรถยนต์ด้านหน้าขณะขับขี่อัจฉริยะ (Intelligent Forward Collisio (ระบบเตือนการชนด้านหน้า FCW,ระบบเตือนการชนด้านหลัง RCW)
เทคโนโลยีเตือนจุดอับสายตา (Blind Spot Warning - BSW)
เทคโนโลยีตรวจจับวัตถุด้านหลังรถขณะถอย (Rear Cross Traffic Alert - RCTA) (และ ระบบช่วยเบรกขณะถอยหลัง RCTB)
ระบบเตือนแรงดันลมยาง (TPMS)
ระบบจ่ายไฟให้กับอุปกรณ์ภายนอก (V2L) (ขนาด 3.3 กิโลวัตต์)

5
บ้านเดี่ยว ศุภาลัย แกรนด์วิลล์ เทิดพระเกียรติ (Supalai Grand Ville Terdprakiat)
N/A

ศุภาลัย แกรนด์วิลล์ เทิดพระเกียรติ (Supalai Grand Ville Terdprakiat)
เตรียมพบบ้านเดี่ยวโครงการใหม่จาก ศุภาลัย บ้านเดี่ยว 2 ชั้น สไตล์ Modern Luxury ทำเลบนพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช

รายละเอียดโครงการ
 ชื่อโครงการ           ศุภาลัย แกรนด์วิลล์ เทิดพระเกียรติ (Supalai Grand Ville Terdprakiat)
 เจ้าของโครงการ     ศุภาลัย
 แบรนด์ย่อย           ศุภาลัย แกรนด์วิลล์
 ราคา                   N/A (ณ. วันที่ 9 ส.ค. 67)
 ประเภทบ้าน            บ้านเดี่ยว
 ลักษณะทำเล          บ้านลักษณะทำเลอื่น
 พื้นที่โครงการ         โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 จำนวนบ้าน            โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 แบบบ้านทั้งหมด      โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
  เนื้อที่บ้าน             โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 พื้นที่ใช้สอย           โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 จำนวนชั้น              โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 หน้ากว้าง             โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 จำนวนห้องนอน       โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 จำนวนที่จอดรถ       โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 สาธารณูปโภค

สถานที่ใกล้เคียง
 โซน        เมืองนครศรีธรรมราช
 ที่ตั้ง        ถนนเทิดพระเกียรติ ตำบลปากนคร อำเภอเมืองนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช 80000

 ขนส่งสาธารณะ             ใกล้ถนนสายหลัก (ถนนเทิดพระเกียรติ, ถนนราชดำเนิน)
 สถานที่สำคัญใกล้เคียง    โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 ปีที่สร้างเสร็จ               โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ

6
ตรวจอาการเบื้องต้นด้วยตนเอง: ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัส (Contact dermatitis)

ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัส (ผื่นคันจากการสัมผัส ผื่นแพ้จากการสัมผัส ก็เรียก) หมายถึง อาการผื่นคันที่เกิดจากการสัมผัสถูกสิ่งกระตุ้นจากภายนอกร่างกาย ซึ่งเป็นสารระคายเคืองหรือสารที่ทำให้เกิดการแพ้ได้ง่าย โดยที่ผู้ป่วยไม่จำเป็นต้องมีความผิดปกติทางกรรมพันธุ์เกี่ยวกับโรคภูมิแพ้

สาเหตุ

การเกิดผื่นอาจเป็นผลมาจากข้อใดข้อหนึ่ง ดังนี้

1. การระคายเคืองต่อผิวหนัง เนื่องจากการถูกสารระคายเคือง ทำให้ผิวหนังเกิดการอักเสบ เช่น กรดด่าง สบู่ ผงซักฟอก ยางไม้ (ยางมะม่วง ต้นรัก) เป็นต้น เรียกว่า ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสเนื่องจากการระคายเคือง (irritant contact dermatitis)

2. การแพ้ โดยที่ผู้ป่วยจะต้องเคยสัมผัสถูกสารแพ้มาอย่างน้อยครั้งหนึ่งก่อน แล้วร่างกายถูกกระตุ้นให้สร้างสารภูมิต้านทาน (แอนติบอดี) ขึ้นมา เมื่อสัมผัสซ้ำอีกครั้งหนึ่งก็ทำให้เกิดอาการแพ้ การสัมผัสครั้งแรกกับครั้งหลัง อาจห่างกันเป็นวัน ๆ เป็นเดือน หรือเป็นปีก็ได้

สารที่ก่อให้เกิดการแพ้ได้ง่าย เช่น โลหะ (นิกเกิล โครเมียม โคบอลต์ เงิน ปรอท) ยาทาเฉพาะที่ (เช่น เพนิซิลลิน ซัลฟา นีโอไมซิน แอนติฮิสตามีน ยาชา) ปลาสเตอร์ เครื่องสำอาง (เช่น ยาย้อมผม น้ำหอม ยาทาเล็บ ลิปสติก) เครื่องแต่งกาย (รองเท้า ถุงเท้า เสื้อผ้า) ปูนซีเมนต์ สี สารเคมีต่าง ๆ เป็นต้น เรียกว่า ผิวหนังอักเสบจากการสัมผัสเนื่องจากการแพ้ (allergic contact dermatitis)

โรคนี้จะพบบ่อยในผู้ที่ทำงานบ้าน โรงงานอุตสาหกรรมหรือมีอาชีพที่ต้องสัมผัสถูกสารดังกล่าวเป็นประจำ

อาการ

มีลักษณะเป็นผื่นแดงหรือขึ้นเป็นตุ่มน้ำใสเล็ก ๆ มีอาการคันมาก ซึ่งจะขึ้นเฉพาะบริเวณที่สัมผัสถูกสิ่งที่แพ้ อาจทำให้เห็นเป็นรอยตามลักษณะของสิ่งที่แพ้ เช่น รอยสายนาฬิกา สร้อยคอ ขอบกางเกง สายเสื้อชั้นใน สายรองเท้า เป็นต้น

บางรายอาจเป็นตุ่มน้ำใส ซึ่งอาจต่อกันจนเป็นตุ่มพองใหญ่ เมื่อแตกออก จะมีน้ำเหลืองไหล และมีสะเก็ดเกรอะกรัง

เมื่ออาการทุเลา ผิวหนังอาจแห้งเป็นขุย หรือหนาตัวขึ้นชั่วคราว

บางรายผิวหนังอาจคล้ำลงหรือเป็นรอยด่างขาวชั่วคราว

ผื่นแพ้ยาง
ผื่นแพ้ยาง

ภาวะแทรกซ้อน

หากมีอาการคันมากอาจเกาจนมีน้ำเหลืองเยิ้มทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรีย (กลายเป็นตุ่มหนอง หรือแผลพุพอง) หรือเชื้อรา (กลายเป็นโรคเชื้อราที่ผิวหนัง เช่น โรคเชื้อราแคนดิดา)

  หากเป็นเรื้อรังอาจกระทบต่อคุณภาพชีวิตและสมาธิในการทำงาน

ในรายที่เป็นเรื้อรังอาจเกาเป็นนิสัย ทำให้ผิวหนังหนาตัว มีสีคล้ำ เรียกว่า “Neurodermatitis” หรือ “Lichen simplex chronicus” ซึ่งบางคนเรียกว่า “โรคเรื้อนกวาง” โดยไม่เกี่ยวกับโรคเรื้อน และไม่เป็นโรคติดต่อแบบโรคเรื้อนแต่อย่างใด

การวินิจฉัย

แพทย์จะวินิจฉัยจากอาการและสิ่งตรวจพบ

ในรายที่มีอาการไม่ชัดเจน หรือเป็น ๆ หาย ๆ บ่อย แพทย์จะทำการทดสอบทางผิวหนัง โดยวิธี patch test (ใช้น้ำยาที่มีสารต่าง ๆ ปิดที่หลังแล้วดูปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น) เพื่อหาสาเหตุซึ่งจะได้หาทางหลีกเลี่ยง

การรักษาโดยแพทย์

แพทย์จะให้การดูแลรักษา ดังนี้

1. หาสาเหตุที่ระคายเคืองหรือแพ้ (เหตุกำเริบ) แล้วหลีกเลี่ยงเสีย โดยสังเกตจาก

    ตำแหน่งที่เป็น เช่น ที่ศีรษะอาจแพ้ยาย้อมผม แชมพูสระผม น้ำมันใส่ผม ที่ใบหูอาจแพ้ตุ้มหู ที่ใบหน้าอาจแพ้เครื่องสำอาง ที่คออาจแพ้น้ำหอม สร้อยคอ ที่ลำตัวอาจแพ้เสื้อผ้า สบู่ ที่ขาและเท้า อาจแพ้ถุงเท้า รองเท้า (หนังหรือยาง) ที่ข้อมืออาจแพ้สายนาฬิกา ที่มือและเท้าอาจแพ้ผงซักฟอก ปูนซีเมนต์ ที่แขนหรือขาอาจแพ้ยุง แมลง เป็นต้น
    อาชีพและงานอดิเรก เช่น คนขับรถอาจแพ้เบนซิน น้ำมันเครื่อง แม่บ้านหรือคนซักผ้าอาจแพ้ผงซักฟอก ช่างปูนอาจแพ้ปูนซีเมนต์ เป็นต้น


2. รักษาผื่นคันโดย

    ชะแผลด้วยน้ำเกลือ แล้วเช็ดให้แห้ง
    ทาด้วยครีมสเตียรอยด์ เช่น ครีมไตรแอมซิโนโลนอะเซโทไนด์ ถ้าเป็นบริเวณกว้าง ควรให้กินยาแก้แพ้ เช่น คลอร์เฟนิรามีน ไดเฟนไฮดรามีน หรือไฮดรอกไซซีน
    ถ้ามีหนองหรือน้ำเหลืองไหล ให้ยาปฏิชีวนะ (เช่น ไดคล็อกซาซิลลิน, อีริโทรไมซิน)


3.    ในรายที่เป็นรุนแรง อาจต้องให้เพร็ดนิโซโลน กินนาน 10 วัน

การดูแลตนเอง

หากสงสัย เช่น มีอาการผื่นแดงหรือตุ่มคันตามผิวหนัง ควรปรึกษาแพทย์

เมื่อตรวจพบว่าเป็นผิวหนังอักเสบจากการสัมผัส ควรดูแลตนเอง ดังนี้

    รักษา ใช้ยา และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ 
    ติดตามรักษากับแพทย์ตามนัด
    หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดอาการ


ควรกลับไปพบแพทย์ก่อนนัด ถ้ามีลักษณะข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้

    ดูแลรักษาแล้วอาการไม่ทุเลาใน 1 สัปดาห์ หรือมีอาการกำเริบใหม่ 
    ผื่นกลายเป็นตุ่มหนอง แผลพุพอง หรือมีน้ำเหลืองไหล
    ขาดยา ยาหาย หรือกินยาไม่ได้
    ในรายที่แพทย์ให้ยากลับไปกินต่อที่บ้าน กินยาแล้วสงสัยเกิดผลข้างเคียงจากยา เช่น มีลมพิษ ผื่นคัน ตุ่มพุพอง ตาบวม ปากบวม ปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ อาเจียน จุดแดงจ้ำเขียว หรือมีอาการผิดปกติอื่น ๆ

การป้องกัน

    หลีกเลี่ยงการสัมผัสถูกสิ่งระคายเคืองหรือสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดอาการ
    เมื่อสัมผัสสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดอาการ รีบทำความสะอาดร่างกายด้วยน้ำอุ่นกับสบู่เหลว
    รีบทำความสะอาดหรือเปลี่ยนเสื้อผ้าที่ปนเปื้อนสิ่งที่กระตุ้นให้เกิดอาการทันที
    ทาโลชั่นหรือครีมบำรุงผิวบ่อย ๆ

ข้อแนะนำ

การรักษาโรคนี้ขึ้นอยู่กับการค้นหาเหตุกำเริบ ซึ่งส่วนมากจะวินิจฉัยได้จากการซักถามประวัติ และตำแหน่งที่เป็น หรือไม่ก็สามารถบอกจากการทดสอบทางผิวหนัง ถ้าหลีกเลี่ยงเหตุกำเริบได้มักจะหายใน 2-3 สัปดาห์ หรือ 2-3 เดือน

7
ความผิดปกติของฟันในเด็กแบบไหนที่ควรจัดฟันเด็ก
 
สุขภาพช่องปากและฟันสำหรับเด็ก เป็นสุขอนามัยเบื้องต้นที่เด็กจะต้องฝึกดูแลรักษาความสะอาด ซึ่งพ่อแม่ผู้ปกครองจะต้องคอยแนะนำและสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดของเด็กให้เด็กได้เข้าใจและแปรงฟันอย่างถูกต้อง เพื่อที่จะได้มีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดีตั้งแต่อายุยังน้อย การที่เด็กมีสุขภาพช่องปากและฟันที่ดี ถือว่าเป็นเรื่องที่ดี และช่วยในเรื่องของพัฒนาการของเด็กด้วย เพราะถ้าเด็กมีสุขภาพฟันที่ดี


เด็กก็จะมีสุขอนามัยที่ดี สามารถใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น เช่นการบดเคี้ยวอาหาร ก็จะส่งผลทำให้เด็กได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนและเต็มที่ ทำให้เด็กมีพัฒนาการที่ดีด้วย อย่างไรก็ตาม พ่อแม่ผู้ปกครอง ควรที่จะพาเด็กไปพบทันตแพทย์ ก่อนที่ฟันน้ำนมจะขึ้นครบทั้งยี่สิบซี่ หรือเด็กมีอายุระหว่าง 2-3ขวบ เมื่อไปพบทันตแพทย์ครั้งแรกนั้น ทันตแพทย์จะพุดคุยกับเด็กก่อน เพื่อสร้างความสนิทสนม และสร้างทัศนคติที่ดีในเรื่องของการดูแลรักษาความสะอาดช่องปากและฟันให้เด็ก จากนั้นก็จะแนะนำเครื่องมือในการทำฟันต่างๆ


เพื่อให้เด็กเกิดความคุ้นเคยและไม่กลัว จากนั้นจึงจะตรวจฟันเด็ก และให้คำแนะนำกับผู้ปกครองเกี่ยวกับวิธีรักษาความสะอาดฟันของเด็ก เพื่อที่จะได้ให้เด็กฝึกการแปรงฟันอย่างถูกวิธี เพื่อป้องกันฟันผุ เพราะถ้าหากเด็กเกิดฟันผุ ก็จะส่งผลเสียไปถึงอนาคตได้ ที่สำคัญที่สุดพ่อแม่ผู้ปกครองควรที่จะสังเกตฟันของเด็ก ถ้าหากเด็กมีปัญหาก็ควรที่จะพาเด็กเข้ารับการรักษาหรือเข้ารับการจัดฟันเพื่อแก้ไขปัญหา แต่จะรู้ได้อย่างไรว่าปัญหาฟันของเด็กแบบไหนที่เหมาะที่จะเข้ารับการจัดฟันในเด็ก วันนี้ทางคลินิกเราจะมาพูดถึงปัญหาฟันในเด็กที่เหมาะสมที่จะเข้ารับการจัดฟัน เพื่อที่จะได้เป็นแนวทางในการพาเด็กเข้ารับการจัดฟัน เพื่อแก้ไขปัญหาได้อย่างถูกต้อง
 
การเกิดฟันผุในเด็กนั้น หรือปัญหาที่มีความรุนแรงถึงขั้นสูญเสียฟัน ต้องบอกว่า หลายปัญหาอาจลดความรุนแรงได้ หากได้รับการรักษาตั้งแต่เนิ่นๆ เช่น อาการฟันสบคร่อม ที่ฟันล่างสบคร่อมทับฟันบน ในเด็กหากทิ้งไว้ไม่รักษา ขากรรไกรอาจมีขนาดผิดปกติ ทำให้ใบหน้าเว้า หน้าเบี้ยว และอาจทำให้เกิดความผิดปกติ ที่ข้อต่อขากรรไกรได้ รวมไปถึงถ้าหากเด็กมีภาวะฟันแท้หาย หรือขึ้นไม่ครบ ควรพามาพบทันตแพทย์จัดฟัน เพราะอาจช่วยดึงฟันที่ฝังให้งอกขึ้นมาได้


เด็กจะได้ไม่ต้องเป็นคนฟันหลอ หรือไม่ต้องใส่ฟันปลอม ไม่ต้องใส่รากฟันเทียม ซึ่งการจัดฟันในเด็กนั้น พ่อแม่ผู้ปกครองสามารถพาเด็กเข้ามารักษาด้วยการจัดฟันในเด็กได้ตั้งแต่อายุ 4-15 ปี ถ้าหากพบปัญหาการสบฟันที่ผิดปกติ เด็กวัยนี้ก็สามารถจัดฟันได้แล้ว สำหรับในแง่ของปัญหาฟันในเด็กที่เหมาะสมที่ควรเข้ารับการจัดฟันก็มีสัญญาณบ่งบอกที่บอกว่าควรเข้ารับการจัดฟัน เพราะในวัยเด็ก เป็นวัยที่เหมาะสมเข้ารับการจัดฟันเพื่อแก้ไขปัญหาความผิดปกติ คือ ปัญหาฟันหน้ายื่น ปัญหาการที่ฟันสบกันผิดปกติ ฟันซ้อน ฟันขึ้นผิดตำแหน่ง ฟันน้ำนมหลุดเร็วเกินไป หรือหลุดช้าเกินไป หรือต้องเสียฟันน้ำนมแบบไม่ปกติ


ฟันหรือลักษณะขากรรไกร ดูผิดสัดส่วน เด็กยังติดการดูดนิ้วจนอายุเกิน 5 ปี มีอาการกัดหรือบดเคี้ยวอาหารลำบาก เด็กชอบหายใจทางปาก นี่คือสัญญาณที่บ่งบอกถึงความผิดปกติที่ควรที่จะเข้ารับการจัดฟันเพื่อแก้ไขปัญหา หากปล่อยทิ้งไว้อาจจะทำให้ปัญหาที่มีอยู่เกิดความรุนแรงขึ้นได้ และอาจจะส่งผลต่อฟันบริเวณใกล้เคียงด้วย ดังนั้น พ่อแม่ผู้ปกครองควรที่จะพาบุตรหลานของท่านเข้ารับการตรวจฟันเป็นประจำและถ้าหากมีสัญญาณบ่งบอกถึงความผิดปกติก็ควรพาเด็กเข้าพบทันตแพทย์จัดฟันทันที เพื่อเข้ารับการแก้ไข

อย่างไรก็ตาม หากพ่อแม่ผู้ปกครองท่านใด สนใจพาบุตหลานของท่านเข้ารับการจัดฟันในเด็กและเข้าปรึกษากับทันตแพทย์จัดฟันในเด็ก ก็สามารถติดต่อขอรับคำแนะนำได้ที่คลินิก เพราะทางเรามีทีมทันตแทพย์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านทันตกรรมในเด็ก รวมไปถึงมีประสบการณ์ยาวนานด้านการจัดฟัน จึงสามารถให้คำปรึกษาได้อย่างถูกต้อง และแนะนำวิธีการดูแลรักษาความสะอาดของช่องปากและฟันให้มีประสิทธิภาพ เพื่อป้องกันไม่ให้เด็กเกิดฟันผุตั้งแต่อายุยังน้อย ลดปัญหาการเกิดความผิดปกติของช่องปากและฟัน เพื่อให้เด็กได้สามารถใช้ชีวิตประจำวันหรือทำกิจกรรมต่างๆได้อย่างเต็มที่

8
ประเภทท่อลมร้อน ในโรงงาน ที่ควรรู้

ในโรงงานอุตสาหกรรม มีท่อลมร้อนหลายประเภทที่ควรทราบ เพื่อเลือกใช้งานให้เหมาะสมกับความต้องการและลักษณะงาน ดังนี้:

1. แบ่งตามวัสดุ:

ท่อโลหะ:
ท่อเหล็กชุบสังกะสี (Galvanized Steel Duct): นิยมใช้มากที่สุดในโรงงานทั่วไป เนื่องจากมีความแข็งแรงทนทาน ทนต่อความร้อนและอุณหภูมิสูง ทนต่อแรงกระแทก และป้องกันสนิมได้ดี มีอายุการใช้งานยาวนาน
ท่อสแตนเลส (Stainless Steel Duct): มีความทนทานต่อการกัดกร่อนสูง เหมาะสำหรับโรงงานที่มีความชื้น สารเคมี หรือต้องการความสะอาดสูง เช่น โรงงานอาหารและยา
ท่ออลูมิเนียม (Aluminum Duct): น้ำหนักเบา ทนต่อการกัดกร่อน แต่ความแข็งแรงอาจน้อยกว่าเหล็ก เหมาะสำหรับงานที่ไม่ต้องการรับแรงมากนัก
ท่อพลาสติก:
ท่อ PVC/PPR: ทนทานต่อสารเคมีและมีความยืดหยุ่น แต่ทนความร้อนได้จำกัดกว่าท่อโลหะ เหมาะสำหรับงานที่มีอุณหภูมิไม่สูงมากนัก หรือใช้ในระบบระบายอากาศ
ท่อผ้าใบ/ท่ออ่อน (Flexible Duct/Fabric Duct): มีความยืดหยุ่นสูง ปรับเปลี่ยนรูปทรงได้ง่าย เหมาะสำหรับพื้นที่ที่มีข้อจำกัดในการติดตั้ง หรือต้องการลดเสียงและการสั่นสะเทือน มักใช้ร่วมกับพัดลมหรือเครื่องจักร


2. แบ่งตามลักษณะการใช้งาน:

ท่อส่งลมร้อน (Supply Air Duct): ทำหน้าที่ส่งลมร้อนจากเครื่องทำความร้อนไปยังพื้นที่ต่างๆ ในโรงงาน
ท่อลมร้อน-ท่อยืด (Fabric Expansion Joint/Hot Air Blower Hose): ออกแบบมาเพื่อรองรับการเคลื่อนตัว การขยาย/หดตัวของท่อเนื่องจากอุณหภูมิ ลดเสียงและการสั่นสะเทือน มักใช้เชื่อมต่อระหว่างเครื่องจักรหรืออุปกรณ์ที่มีการเคลื่อนไหว
ท่อระบายอากาศร้อน (Exhaust Air Duct): ใช้ระบายอากาศร้อน ไอเสีย หรือมลพิษออกจากพื้นที่ในโรงงาน
ท่อดูดอากาศร้อน: ใช้ดูดอากาศร้อนจากกระบวนการผลิต หรือเครื่องจักรเฉพาะจุด


3. สิ่งที่ควรรู้เพิ่มเติม:

ฉนวนกันความร้อน: เพื่อลดการสูญเสียพลังงาน ควรเลือกท่อลมที่มีฉนวนหุ้ม หรือติดตั้งฉนวนเพิ่มเติม (เช่น ฉนวนใยแก้ว, ฉนวนใยหิน) โดยเฉพาะท่อที่เดินในบริเวณที่ไม่ได้ต้องการทำความร้อน
การป้องกันการรั่วซึม: รอยต่อของท่อต้องแน่นหนาเพื่อป้องกันการรั่วไหลของลมร้อน ซึ่งจะทำให้สิ้นเปลืองพลังงานและลดประสิทธิภาพของระบบ
การออกแบบระบบ: การออกแบบระบบท่อลมร้อนที่เหมาะสมกับความต้องการของโรงงานเป็นสิ่งสำคัญ ควรปรึกษาวิศวกรผู้เชี่ยวชาญ
การบำรุงรักษา: การตรวจสอบและบำรุงรักษาท่อลมร้อนอย่างสม่ำเสมอจะช่วยยืดอายุการใช้งานและรักษาประสิทธิภาพของระบบ


การเลือกประเภทท่อลมร้อนที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับปัจจัยหลายประการ เช่น อุณหภูมิใช้งาน, ความดัน, สภาพแวดล้อม, งบประมาณ และความต้องการเฉพาะของแต่ละโรงงาน ดังนั้น การทำความเข้าใจประเภทต่างๆ ของท่อลมร้อนจึงเป็นสิ่งสำคัญในการตัดสินใจเลือกใช้งานได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

9
ชุดปฏิบัติธรรม ชุดแม่ชี เราเป็น โรงงานผลิตโดยตรง
ตัดเย็บปราณีต ทรงสวย เรียบหรู ดูสง่างดงาม
ผลิตจาก ผ้าฝ้ายแท้ 100% เกรดพรีเมียม

ชุดปฏิบัติธรรม ชุดขาวไปวัด ชุดแม่ชี
– ราคาแยกรายชิ้น –
ทอย้อมจากโรงงานอุตสาหกรรมชั้นดี
พร้อมส่งทุกไซส์
(กรณีสั่งตัดไซส์พิเศษ รอผลิต 7-10 วัน)
จัดส่งฟรี‼ เมื่อลูกค้าโอนชำระ
มีบริการเก็บเงินปลายทาง (+ตัวละ 10.-)

รับตัดชุดขาวไซส์ใหญ่พิเศษ
หมดกังวล หาไซส์ไม่ได้ ทางร้านเป็นโรงงานผลิตโดยตรง
สามารถสั่งตัดชุดได้ตามความต้องการ รอผลิต 7-10 วันทำการ

ร้านอริยทรัพย์ ชุดขาวปฏิบัติธรรม
เบอร์มือถือ :  092-926-4142 , 063-289-5356
Facebook : ชุดขาวปฎิบัติธรรม อริยทรัพย์
Instagram : ariyasub.shop
ID Line : @ariyasub (มี@)
เว็บไซด์: https://ariyasub99.com/
สนใจตัดชุดขาวไซซ์พิเศษ ติดต่อมาได้เลยค่ะ

สัมผัสประสบการณ์ใหม่
จากผ้าฝ้ายแท้ 100%
 นุ่มสบาย ไม่ร้อน ไม่ระคายคือง
ใส่ใจทุกขั้นตอนการผลิต ตั้งแต่การคัดสรรเนื้อผ้า
การตัดเย็บ รวมไปถึงการจัดส่งแบบปกติ
และจัดส่งเร่งด่วน (Kerry EMS Grab)

ชุดขาวปฎิบัติธรรม ชุดขาวหญิง ชุดแม่ชี คุณภาพ
เน้นคุณภาพใส่ใจทุกขั้นตอน ตัดเย็บงานผ้าฝ้ายคุณภาพ (cotton 100%)
สวมใส่สบาย ระบายความร้อนได้ดี ไม่อึดอัด

ชุดปฎิบัติธรรมชาย คุณภาพ
เน้นคุณภาพใส่ใจทุกขั้นตอน ตัดเย็บงานผ้าฝ้ายคุณภาพ (cotton 100%)
สวมใส่สบาย ระบายความร้อนได้ดี ไม่อึดอัด


ร้านอริยทรัพย์ ชุดขาวปฏิบัติธรรม
เบอร์มือถือ :  092-926-4142 , 063-289-5356
Facebook : ชุดขาวปฎิบัติธรรม อริยทรัพย์
Instagram : ariyasub.shop
ID Line : @ariyasub (มี@)
เว็บไซด์: https://ariyasub99.com/
สนใจตัดชุดขาวไซซ์พิเศษ ติดต่อมาได้เลยค่ะ


10
บริการทำความสะอาด: 8 วิธีล้างคราบมันในห้องครัว

คราบมันในครัวเป็นปัญหากวนใจมานาน เพราะนอกจากจะดูสกปรกแล้ว ยังเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคด้วย วันนี้เราเลยนำวิธีล้างคราบมันในห้องครัวมาบอกต่อแล้ว

คราบมันไม่ได้ทำให้ห้องครัวดูสกปรกเท่านั้น แต่ยังเป็นแหล่งสะสมเชื้อโรคอีกทั้งอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ โดยเฉพาะคราบมันบนพื้นซึ่งบางครั้งก็ปล่อยทิ้งไว้นานจนกลายเป็นคราบมันที่ฝังแน่นจนขัดออกยาก วันนี้เลยนำวิธีล้างคราบมันในห้องครัวด้วยของใช้ในบ้านมาฝากอีกทั้งยังเป็นวิธีการขจัดคราบมันง่าย ๆ ไม่ต้องออกแรงเยอะ ถูเบา ๆ ก็สะอาดแล้ว

1. น้ำส้มสายชู

สำหรับคราบน้ำมันที่ค้างมานาน จนเกาะแน่นฝังลึกบนพื้นผิวเช่น ชั้นวางของ ตู้กับข้าว พื้น ผนัง พัดลมดูดควัน หรือเครื่องครัวต่าง ๆให้ผสมน้ำ 2 ส่วน ต่อน้ำส้มสายชู 1 ส่วน เข้าด้วยกัน จากนั้นนำผ้าไปชุบ แล้วเช็ดบริเวณที่มีเป็นคราบกรดอ่อน ๆ ในน้ำส้มสายชูก็จะช่วยกัดความสกปรกออกไปเสร็จแล้วก็ใช้ผ้าชุดน้ำสะอาดเช็ดซ้ำอีกครั้งหรือล้างกับน้ำยาล้างจานเพื่อกำจัดกลิ่น เพียงเท่านั้นก็จะทำให้ห้องครัวกลับมาสะอาดเอี่ยมและน่าใช้แล้ว

2. น้ำร้อน

วิธีล้างคราบมันตามจุดต่าง ๆ ในห้องครัวหรือวิธีล้างคราบน้ำมันติดครื่องดูดควันที่ง่ายที่สุด ขอยกให้น้ำร้อนเลยค่ะ เพราะแค่ใช้ผ้าชุบน้ำร้อนบิดหมาด ๆ แล้วเอาไปเช็ดบริเวณที่มีรอยน้ำมันเกาะ คราบก็จะค่อย ๆ จางหายไปภายอย่างรวดเร็ว แต่ว่าวิธีนี้เหมาะสำหรับล้างคราบน้ำมันที่เกิดขึ้นไม่นานมาก เพราะคราบจะยังไม่ฝังตัวลึก อยู่ในจุดที่น้ำร้อนยังสามารถทำความสะอาดได้ แถมยังไม่ทำให้พื้นผิวลื่นด้วย

3. เกลือ

เชื่อว่าในห้องครัวของทุกคนต้องมีเกลืออยู่แล้ว เลยนำวิธีใช้เกลือขจัดคราบน้ำมันติดผนังมาฝากด้วย ซึ่งทำตามได้ง่าย ๆ เลย แค่โรยเกลือลงไปบนคราบน้ำมัน แล้วรอให้เกลือดูดคราบน้ำมันขึ้นมา จากนั้นฉีดสารละลายบอแรกซ์หรือน้ำสัมสายชูลงไปเล็กน้อย แล้วทำความสะอาดด้วยการใช้ฟองน้ำหรือผ้าชุบน้ำเช็ดส่วนผสมออกให้หมดก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย

แต่ถ้าบ้านใครมีรับบิ้งแอลกอฮอล์ (Rubbing Alcohol) หรือแอลกอฮอล์ล้างแผลอยากจะลองวิธีที่ไวกว่านั้นก็ได้นะคะ เพียงแค่ผสมรับบิ้งแอลกอฮอล์ 1 ส่วน กับเกลือ 4 ส่วน แล้วนำไปถูบริเวณที่มีคราบมันเกาะ แค่นี้คราบก็จะหายไปแล้วค่ะ แถมรับบิ้งแอลกอฮอล์ยังมีฤทธิ์ในการช่วยกำจัดเชื้อโรคได้อีกด้วยนะ

4. ผงซักฟอก

อีกหนึ่งวิธีขจัดคราบมันในครัวที่เราอยากนำเสนอก็คือ การใช้ผงซักฟอก เพราะผงซักฟอกสามารถล้างคราบน้ำมันได้ทั้งบริเวณพื้น เตา เครื่องดูดควัน และเครื่องครัวต่าง ๆ โดยนำผงซักฟอกไปผสมกับน้ำอุ่น แล้วหยิบผ้ามาชุบ ก่อนจะนำไปเช็ดคราบต่าง ๆ ซึ่งวิธีนี้จะทำให้คราบน้ำมันหลุดออกอย่างง่ายดาย เนื่องจากผงซักฟอกมีคุณสมบัติกำจัดสิ่งสกปรกอยู่แล้ว แถมยังมีกลิ่นหอมอีกด้วย


5. เบกกิ้งโซดา

เวลามีคราบสกปรกในบ้านหลาย ๆ คนคงนึกถึง “เบกกิ้งโซดา”เพราะเป็นอุปกรณ์ที่สามารถนำมาขจัดคราบต่าง ๆ ได้อย่างดีเยี่ยม แถมยังไม่อันตรายเท่าการใช้น้ำยาเคมีด้วยโดยการขจัดคราบมันในครัวก็เริ่มจากการผสมน้ำกับเบกกิ้งโซดาเข้าด้วยกัน แล้วนำฟองน้ำมาจุ่มจากนั้นก็เช็ดให้ทั่งบริเวณที่มีคราบ และทำซ้ำตามขั้นตอนจนกระทั่งคราบมันหมดไปและถ้าใครมีเบกกิ้งโซดาเหลือ จะนำไปใช้กำจัดคราบอื่น ๆ ในบ้านต่อก็ได้นะ


6. มะนาว

นอกจากจะใช้เบกกิ้งโซดาทำตามวิธีข้างบนแล้ว ยังมีอีกวิธีที่เห็นผลดีสุด ๆนั่นก็คือการเทน้ำมะนาวผสมลงไปกับเบกกิ้งโซดา ราดลงไปตรงบริเวณที่มีคราบแล้วใช้ฟองน้ำหรือผ้าขัดคราบน้ำมันออกมา แต่ถ้าหากบ้านไหนไม่ได้ใช้เบกกิ้งโซดาเป็นประจำจะใช้แค่มะนาวอย่างเดียวก็ได้ โดยฝานมะนาวเป็นแผ่นบาง ๆ แล้วก็นำไปถูบริเวณที่เป็นคราบก่อนจะใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดเพื่อล้างพื้นผิวให้สะอาด


7. น้ำมันพืช

เมื่อต้นเหตุคราบเกิดจากน้ำมัน ก็ใช้น้ำมันนี่แหละกำจัดกันเองซะเลยแถมยังเป็นของที่ต้องมีติดครัวอยู่แล้วด้วย แต่น้ำมันที่จะนำมาใช้ทำความสะอาดควรเป็นน้ำมันจากธรรมชาติ
เช่น น้ำมันมะกอก น้ำมันมะพร้าว หรือน้ำมันพืชเท่านั้นนะคะซึ่งวิธีทำก็ง่าย ๆ แค่เทน้ำมันดังกล่างลงไปบนกระดาษทิชชูเล็กน้อย แล้วนำไปขัด ๆ ถู ๆบริเวณฝาผนังหรือเครื่องครัว คราบน้ำมันที่ทั้งข้นและเหนียวก็จะค่อย ๆ หลุดออกไป


8. ทรายแมว

ใครจะไปคิดว่าทรายแมวก็นำมาใช้ได้เหมือนกัน แต่วันนี้จะได้รู้กันแล้วแถมวิธีทำนั้นก็ง่ายนิดเดียว เหมาะกับการขจัดคราบมันบนพื้นกระเบื้องมาก ๆเพราะไม่ทำลายพื้นผิวอย่างแน่นอน โดยเริ่มจากใช้ผ้าซับคราบน้ำมันให้ได้มากที่สุด
แล้วโรยทรายแมวลงไปแล้วเกลี่ยให้ทั่วบริเวณที่มีคราบ ทิ้งไว้ประมาณ 1 วันแล้วค่อยกวาดทรายออกให้หมด แค่นี้ก็ช่วยคราบนบนพื้นครัวก็หายไปแล้วค่ะ

วิธีที่เรานำมาฝากทำตามได้ไม่ยากเลยใช่ไหมล่ะคะแถมพวกอุปกรณ์ต่าง ๆ ทุกคนก็มีติดบ้านอยู่แล้วเพราะฉะนั้นมาขจัดคราบมันให้ห้องครัวดูสะอาดไปพร้อม ๆ กันเลยค่ะ

11
หมอประจำบ้าน: ไขมันในเลือดผิดปกติ/ไขมันในเลือดสูง

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ มีอยู่หลายแบบและมีชื่อเรียกต่าง ๆ กัน ดังนี้

    ไขมันในเลือดสูง (hyperlipidemia) หมายถึง ภาวะคอเลสเตอรอลในเลือดสูง (hypercholesterolemia) อันเนื่องมาจากแอลดีแอลคอเลสเตอรอลสูง หรือไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง (hypertriglyceridemia) หรือสูงทั้งสองอย่างร่วมกัน
    ไลโพโปรตีนในเลือดผิดปกติ (dyslipoproteinemia) หมายถึง ภาวะที่มีไลโพโปรตีนชนิดต่าง ๆ ในเลือดผิดปกติ ได้แก่ ภาวะแอลดีแอลคอเลสเตอรอลสูง หรือเรียกย่อ ๆ ว่า “แอลดีแอลสูง (high LDL cholesterol/hyperbetalipoproteinemia)”, เอชดีแอลคอเลสเตอรอลต่ำ หรือเรียกย่อ ๆ ว่า “เอชดีแอลต่ำ (low HDL cholesterol/hypoalphalipoproteinemia)”

สำหรับเกณฑ์การตัดสินภาวะไขมันผิดปกติในเลือด ดูตารางในหัวข้อ “สาเหตุ”

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ อาจพบภาวะแอลดีแอลสูง ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง หรือเอชดีแอลต่ำ เพียงแบบใดแบบหนึ่ง หรือพบ 2-3 แบบร่วมกันก็ได้

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) ซึ่งชักนำให้เกิดโรคต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรคหัวใจขาดเลือด โรคหลอดเลือดสมองตีบ โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ (peripheral artery disease /PAD) ทั้งนี้ หากพบร่วมกับปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ได้แก่ การสูบบุหรี่ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ก็จะทำให้มีโอกาสเกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็งมากยิ่งขึ้น

ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ พบได้บ่อยทั้งชายและหญิง พบมากในผู้ที่มีประวัติทางกรรมพันธุ์ อ้วนหรือลงพุง ชอบกินอาหารพวกไขมันมาก ๆ หรือทำงานเบา ๆ ไม่ค่อยได้ออกกำลังกาย หรือผู้ที่เป็นเบาหวาน

สาเหตุ

1. เกิดจากความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ โดยมีพ่อแม่พี่น้องมีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติร่วมด้วย เรียกว่า ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติชนิดปฐมภูมิ (primary dyslipidemia) หรือชนิดครอบครัว (familial hyperlipidemia) ผู้ป่วยกลุ่มนี้อาจมีรูปร่างสมส่วน หรือผอม และการควบคุมอาหารอย่างเต็มที่ก็ไม่ได้ทำให้ระดับไขมันในเลือดเป็นปกติ จำเป็นต้องใช้ยารักษา ผู้ป่วยอาจมีความผิดปกติของไขมันในเลือดหลายแบบร่วมกัน

2. ภาวะไขมันในเลือดผิดปกติชนิดมีสาเหตุ หรือชนิดทุติยภูมิ (secondary dyslipidemia) มักมีสาเหตุอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือมีสาเหตุร่วมกัน ดังต่อไปนี้

    การบริโภคอาหารที่ทำให้ไขมันในเลือดผิดปกติ ได้แก่ 
         - ไขมันชนิดอิ่มตัว (saturated fat) เช่น ไขมันสัตว์ เนย เนื้อแดง เนื้อที่มีมันมาก หนังสัตว์ เครื่องในสัตว์ หมูยอ กุนเชียง ไส้กรอก กะทิ น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม ไข่แดง อาหารทะเล (หอยนางรม กุ้ง ปู ปลาหมึก) เป็นต้น ทำให้แอลดีแอลคอเลสเตอรอลสูง
         - ไขมันทรานส์ (trans fat) ซึ่งพบในไขมันพืช (ซึ่งเป็นไขมันชนิดไม่อิ่มตัว) ที่ถูกนำมาแปรรูปโดยการเติมไฮโดรเจน (hydrogenation) เข้าไปในโครงสร้างทางเคมี จนกลายเป็นไขมันอิ่มตัว ทำให้น้ำมันพืชที่แปรรูปนี้แข็งตัวและเก็บรักษาไว้ได้นาน นำมาผลิตเนยขาว (หรือเนยเทียม) มาการีน และครีมเทียม ซึ่งนิยมใช้ผสมในอาหาร ขนม (พวกเบเกอรี่ ขนมอบกรอบ อาหารทอด อาหารขบเคี้ยว) และเครื่องดื่มต่าง ๆ เช่น คุกกี้ เค้ก โดนัท พาย ข้าวโพดคั่ว เวเฟอร์ แครกเกอร์ ไก่ทอด มันฝรั่งทอด เครื่องดื่ม (ชา กาแฟ) ที่ใส่ครีมเทียม เป็นต้น นอกจากนี้ไขมันทรานส์ยังพบในอาหารที่ผ่านการทอดด้วยความร้อนสูง หรือทอดด้วยน้ำมันที่ใช้ซ้ำหลาย ๆ ครั้ง ไขมันทรานส์มีผลทำให้แอลดีแอลคอเลสเตอรอลสูง และเอชดีแอลคอเลสเตอรอลต่ำ
         - อาหารที่ให้พลังงานเกินความต้องการของร่างกาย เช่น อาหารพวกแป้ง น้ำตาล ของหวาน ผลไม้รสหวาน น้ำผลไม้ เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ทำให้ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง

    ความอ้วน หรือเส้นรอบเอวเกิน (มีค่ามากกว่าครึ่งหนึ่งของส่วนสูง)
    การดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์จัด
    การสูบบุหรี่ (ลดไขมันชนิดดี หรือเอชดีแอลคอเลสเตอรอล)
    การขาดการออกกำลังกาย
    โรคหรือภาวะการเจ็บป่วย เช่น เบาหวาน โรคคุชชิง ภาวะขาดไทรอยด์ โรคไตเนโฟรติก ภาวะไตวายเรื้อรัง โรคตับเรื้อรังและโรคตับที่มีภาวะอุดกั้นของทางเดินน้ำดี (obstructive liver disease) การติดเชื้อเอชไอวี เป็นต้น
    การใช้ยา เช่น ยาขับปัสสาวะ-กลุ่มไทอาไซด์ (thiazides), ยาลดความดัน-กลุ่มยาปิดกั้นบีตา, สเตียรอยด์, เอสโทรเจน (ยาเม็ดคุมกำเนิด), โพรเจสเทอโรน, ยาต้านไวรัสเอชไอวีกลุ่ม protease inhibitors, ไซโคลสปอริน เป็นต้น

อาการ

ผู้ที่มีภาวะไขมันในเลือดสูง ส่วนมากจะไม่มีอาการแสดงแต่อย่างใด

มักจะตรวจพบขณะตรวจเช็กสุขภาพ หรือขณะมาพบแพทย์ด้วยโรคบางอย่าง (เช่น เบาหวาน) หรือเมื่อมีอาการของภาวะแทรกซ้อน เช่น เจ็บหน้าอก (จากหลอดเลือดหัวใจตีบ) ปวดน่องเวลาเดินมาก ๆ (จากหลอดเลือดแดงขาตีบ) อัมพาต (จากหลอดเลือดสมองตับ) เป็นต้น

ในรายที่มีภาวะไขมันสูงมาก ๆ อาจพบตุ่มหรือแผ่นเนื้อเยื่อไขมันลักษณะสีเหลืองบนผิวหนัง (เช่น บริเวณหนังตา คอ หลัง สะโพก) เรียกว่า กระเหลือง (xanthoma) ถ้าพบที่บริเวณเส้นเอ็น (เอ็นร้อยหวาย เอ็นบริเวณหลังมือ) ก็อาจทำให้เส้นเอ็นมีลักษณะหนาตัว

นอกจากนี้ อาจพบลักษณะวงแหวนสีขาว ๆ ตรงขอบกระจกตาดำ (แบบที่พบในผู้สูงอายุ) เรียกว่า เส้นขอบกระจกตาวัยชรา (arcus senilis)


ภาวะแทรกซ้อน

ที่สำคัญ คือ ทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) และหลอดเลือดตีบตัน ซึ่งอาจเกิดขึ้นทั่วทุกส่วนของร่างกาย

ถ้าเกิดที่หลอดเลือดหัวใจ ทำให้เป็นโรคหัวใจขาดเลือด

ถ้าเกิดที่หลอดเลือดสมอง ทำให้เป็นอัมพฤกษ์ อัมพาต สมองเสื่อม

ถ้าเกิดที่หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงขา ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดแดงขาตีบ มีอาการปวดน่องเวลาเดินมาก ๆ เป็นตะคริว ปลายเท้าเย็น เป็นแผลเรื้อรังที่เท้า หรือปวดขาหรือปลายเท้า

ถ้าเกิดที่หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะเพศในผู้ชายก็ทำให้เกิดภาวะองคชาตไม่แข็งตัว

นอกจากนี้ยังพบว่า อาจทำให้เกิดโรคหลอดเลือดแดงหลักของจอตาอุดตัน ภาวะไขมันสะสมในตับ (fatty liver)

ส่วนผู้ที่มีภาวะไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูงมาก (โดยเฉพาะอย่างยิ่งสูงเกิน 2,000 มก./ดล.) มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคตับอ่อนอักเสบเฉียบพลัน

การวินิจฉัย

แพทย์จะวินิจฉัยจากการตรวจพบระดับไขมันในเลือดสูงหรือผิดปกติ


การรักษาโดยแพทย์

แพทย์จะให้การดูแลรักษาดังนี้

แพทย์จะทำการตรวจเพื่อประเมินสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยงร่วม โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มอาการเมตาบอลิก* รวมทั้งภาวะแทรกซ้อน และให้การดูแลรักษา โดยแนะนำการปรับพฤติกรรม (ดู “ข้อปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยไขมันในเลือดผิดปกติ” ในหัวข้อ “ข้อแนะนำ”) และให้การรักษาโรคหรือภาวะเสี่ยงที่พบร่วม เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ภาวะน้ำหนักเกิน เป็นต้น

ในรายที่ระดับไขมันสูงในขนาดที่ยังไม่ต้องให้ยาลดไขมัน จะให้ผู้ป่วยลองปรับพฤติกรรมนาน 3-6 เดือน หากควบคุมไม่ได้ตามเป้าหมาย จึงค่อยพิจารณาให้ยาลดไขมัน

แพทย์จะให้ยารักษาภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ โดยพิจารณาถึงปัจจัยเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือด (ได้แก่ 1. อายุ : ชายมากกว่า 45 ปี หญิงมากกว่า 55 ปี, 2. มีพ่อแม่พี่น้องเป็นโรคหัวใจและหลอดเลือดก่อนวัยอันควร : ชายอายุน้อยกว่า 55 ปี หญิงอายุน้อยกว่า 65 ปี, 3. สูบบุหรี่, 4. มีโรคความดันโลหิตสูง, 5. มีเอชดีแอล/HDL < 40 มก./ดล. แต่หากมีค่าเอชดีแอล/HDL ≥ 60 มก./ดล. ให้หักลบปัจจัยเสี่ยงดังกล่าวออกไป 1 ข้อ) ร่วมกับการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือดใน 10 ปีด้วยการคำนวณ

ถ้ามีความเสี่ยงสูงก็จะให้ยาลดไขมันเมื่อมีระดับไขมันในเลือดต่ำกว่าผู้ที่มีความเสี่ยงต่ำ และกำหนดเป้าของระดับไขมันในเลือดที่ต่ำกว่าผู้ที่มีความเสี่ยงต่ำ

อาทิ การใช้ยาลดไขมันที่มีชื่อว่าซิมวาสแตติน (simvastatin) มีเกณฑ์ ดังนี้**

    มีปัจจัยเสี่ยง 0-1 ข้อ จะเริ่มให้ยาลดไขมันเมื่อ LDL-C ≥ 190 มก./ดล. โดยมีเป้าหมายลดให้ต่ำกว่า 160 มก./ดล.
    กรณีมีปัจจัยเสี่ยงตั้งแต่ 2 ข้อขึ้นไป ให้ประเมินความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจใน 10 ปีจากการคำนวณ ***

      - ถ้ามีความเสี่ยงต่ำกว่าร้อยละ 10 จะเริ่มให้ยาลดไขมันเมื่อ LDL-C ≥ 160 มก./ดล. โดยมีเป้าหมายลดให้ต่ำกว่า 130 มก./ดล.

      - ถ้ามีความเสี่ยงระหว่าง ร้อยละ 10-20 จะเริ่มให้ยาเมื่อ LDL-C ≥ 130 มก./ดล. โดยมีเป้าหมายลดให้ต่ำกว่า 130 มก./ดล.

      - ถ้ามีความเสี่ยงมากกว่าร้อยละ 20 จะเริ่มใช้ยาเมื่อ LDL-C ≥ 130 มก./ดล. โดยมีเป้าหมายลดให้ต่ำกว่า 100 มก./ดล.
 
ผู้ป่วยที่มีโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ หรือมีความเสี่ยงเทียบเท่าผู้เป็นโรคหลอดเลือดหัวใจตีบ (ได้แก่ 1. เบาหวาน, 2. โรคหลอดเลือดสมองที่เกิดจากสมองขาดเลือด (ischemic stroke) เนื่องจากหลอดเลือดแดงที่คอมีการอุดกั้น, 3. โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย, 4. หลอดเลือดแดงใหญ่โป่ง หรือ 5. ผู้มีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคหลอดเลือดหัวใจใน 10 ปีจากการคำนวณ***  เกินกว่าร้อยละ 20) จะเริ่มให้ยาลดไขมันเมื่อ LDL-C ≥ 130 มก./ดล. โดยมีเป้าหมายลดให้ต่ำกว่า 100 มก./ดล.
    ผู้ป่วยที่มีโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน จะเริ่มให้ยาลดไขมันเมื่อ LDL-C ≥ 100 มก./ดล. โดยมีเป้าหมายลดให้ต่ำกว่า 100 มก./ดล. กรณีมีโรคหัวใจขาดเลือดรุนแรงลดให้ต่ำกว่า 70 มก./ดล.

หลังให้ยาลดไขมัน 6-12 สัปดาห์ แพทย์จะติดตามตรวจหาระดับไขมันในเลือด และตรวจซ้ำทุก 3-6 เดือน พร้อมทั้งเฝ้าระวังผลข้างเคียงจากยา และตรวจเลือดหาระดับเอนไซม์ตับ (AST, ALT) เป็นครั้งคราว

*กลุ่มอาการเมตาบอลิก (metabolic syndrome) ประกอบด้วย ภาวะเสี่ยงอย่างน้อย 3 ข้อ จาก 5 ข้อต่อไปนี้
1. ความดันโลหิตช่วงบน ≥ 130 มม.ปรอท และ/หรือความดันโลหิตช่วงล่าง ≥ 85 มม.ปรอท หรือกินยารักษาความดันโลหิตสูงอยู่
2. ระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหาร 8 ชั่วโมง (FPG) ≥ 100 มก./ดล.
3. เส้นรอบเอว ≥ 90 ซม. ในผู้ชาย หรือ ≥ 80 ซม. ในผู้หญิง
4. ระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือด ≥ 150 มก./ดล.
5. ระดับเอชดีแอลคอเลสเตอรอลในเลือด < 40 มก./ดล. ในผู้ชาย หรือ < 50 มก./ดล. ในผู้หญิง

กลุ่มอาการเมตาบอลิก พบได้มากขึ้นตามอายุ (อายุมากกว่า 60 ปี อาจพบมากถึงร้อยละ 40) และพบในผู้ที่มีน้ำหนักตัวมาก (ดัชนีมวลกาย ≥ 25 กก./ตร.ม. พบได้ประมาณร้อยละ 20 ≥ 30 กก./ตร.ม. พบได้มากกว่าร้อยละ 50)

ผู้ที่มีกลุ่มอาการเมตาบอลิกมีความเสี่ยงสูงต่อการเกิดโรคเบาหวาน โรคหัวใจและหลอดเลือด และภาวะไขมันสะสมในตับ (fatty liver) ซึ่งอาจกลายเป็นตับอักเสบที่เรียกว่า “Non-aloholic steatohepatitis/NASH” ซึ่งในที่สุดอาจกลายเป็นตับแข็งและมะเร็งตับได้

การรักษา ปรับพฤติกรรมแบบเดียวกับโรคเบาหวาน ไขมันในเลือดผิดปกติ ความดันโลหิตสูง ถ้าจำเป็นอาจต้องให้ยาควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่พบ

**ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติเรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑

*** มีวิธีคำนวณได้หลายสูตร สำหรับ "ประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติเรื่อง บัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๑" แนะนำให้ใช้สูตร Framingham Coronary Heart Disease Risk Score โดยคำนวณจากอายุ เพศ ประวัติการสูบบุหรี่ ค่าคอเลสเตอรอลรวม (total cholesterol) ค่าเอชดีแอลคอเลสเตอรอล (HDL) ค่าความดันโลหิตช่วงบน (systolic blood pressure) และประวัติการใช้ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง (ดูวิธีคำนวณได้ที่นี่)


การดูแลตนเอง

ผู้ที่มีภาวะอ้วน น้ำหนักเกิน สูบบุหรี่ หรือดื่มสุราจัด หรือมีพ่อแม่พี่น้องเป็นไขมันในเลือดผิดปกติ หรือมีอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นไป ถ้ายังไม่เคยตรวจระดับไขมันในเลือด ควรปรึกษาแพทย์เพื่อตรวจระดับไขมันในเลือด

เมื่อตรวจพบว่าเป็นไขมันในเลือดผิดปกติ ควรดูแลตนเอง ดังนี้

    ปฏิบัติตัวตามคำแนะนำของแพทย์ (ดู “ข้อปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยไขมันในเลือดผิดปกติ” ด้านล่าง)
    รักษา กินยาตามคำแนะนำของแพทย์ 
    ติดตามรักษากับแพทย์ตามนัด
    หลีกเลี่ยงการซื้อยากินเอง รวมทั้งการใช้สมุนไพรและน้ำสมุนไพร เพราะอาจมีผลทำให้เกิดปฏิกิริยาด้านลบกับยาลดไขมันที่แพทย์ใช้รักษาอยู่ประจำ จนอาจเกิดผลข้างเคียงที่ร้ายแรงได้ หากจำเป็นต้องใช้ยานอกจากยาที่ใช้ประจำหรือเมื่อมีอาการไม่สบาย ควรปรึกษาแพทย์และเภสัชกร

ควรกลับไปพบแพทย์ก่อนนัด ถ้ามีลักษณะข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้

    มีอาการปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อมาก หรือถ่ายปัสสาวะสีเข้มคล้ายสีน้ำปลาหรือโคล่า
    มีอาการดีซ่าน (ตาเหลือง ตัวเหลือง ปัสสาวะเหลืองเข้มคล้ายสีขมิ้น) อ่อนเพลีย ไข้สูง เบื่ออาหาร หรือน้ำหนักลด
    มีอาการอื่น ๆ ที่สงสัยว่าเกิดจากผลข้างเคียงของยาที่ใช้ เช่น ลมพิษ ผื่นคัน คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเดิน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ ใจสั่น เป็นต้น

ข้อปฏิบัติตัวสำหรับผู้ป่วยไขมันในเลือดผิดปกติ

1. ปรับพฤติกรรมในการบริโภคอาหาร โดยควบคุมปริมาณพลังงาน (แคลอรี่) จากไขมันเป็นร้อยละ 25-30 ของพลังงานทั้งหมด (โดยเป็นไขมันชนิดอิ่มตัวไม่เกินร้อยละ 7 ของพลังงานทั้งหมด และกินคอเลสเตอรอลไม่เกิน 200-300 มก./วัน) พลังงานจากโปรตีนเป็นร้อยละ 12-15 ของพลังงานทั้งหมด ที่เหลือร้อยละ 55-65 เป็นพลังงานจากคาร์โบไฮเดรต (ทางที่ดีควรเป็นคาร์โบไฮเดรตเชิงซ้อน เช่น เมล็ดธัญพืช) ซึ่งมีแนวทางปฏิบัติดังนี้

    งดหนังสัตว์ และเครื่องในสัตว์ทุกชนิด
    ลดการบริโภคเนื้อสัตว์ใหญ่ (เช่น หมู วัว) และหันมากินโปรตีนจากปลา ถั่วเหลือง และผลิตภัณฑ์จากถั่วเหลือง (เช่น เต้าหู้) แทนเป็นประจำ
    อาหารที่ควรหลีกเลี่ยงหรือกินได้เล็กน้อยเป็นครั้งคราว ได้แก่ อาหารที่มีไขมันชนิดอิ่มตัวสูง เช่น หมูสามชั้น ขาหมู น้ำแกงต้มกระดูกหรือเนื้อสัตว์ ข้าวมันไก่ เป็ดย่าง แหนม แฮม หมูยอ กุนเชียง ไส้กรอก กะทิ น้ำมันมะพร้าว น้ำมันปาล์ม ไข่แดง อาหารทะเล (หอยนางรม กุ้ง ปู ปลาหมึก)
    ถ้านิยมดื่มนม ควรใช้นมพร่องมันเนย
    บริโภคน้ำมันถั่วเหลือง วันละ 1.5-2.5 ช้อนโต๊ะ โดยใช้น้ำมันชนิดนี้ปรุงอาหารที่บ้าน เพราะจะมีไขมันชนิดไม่อิ่มตัวหลายชนิดที่ช่วยลดระดับแอลดีแอลคอเลสเตอรอลในเลือด
    หลีกเลี่ยงการกินของทอดด้วยน้ำมันพืชซ้ำหลาย ๆ ครั้ง (เช่น มันฝรั่งทอด ปาท่องโก๋ เปาะเปี๊ยะ ทอดมัน) รวมทั้งอาหาร ขนม และเครื่องดื่มที่มีไขมันทรานส์ เช่น  เบเกอรี่ มาการีน เนยขาว (เนยเทียม) ครีมเทียม ขนมอบกรอบ เป็นต้น
    กินผักและผลไม้ให้มาก ๆ ทุกมื้อ รวมทั้งเมล็ดธัญพืช (เช่น ข้าวกล้อง ข้าวโพด ถั่วต่าง ๆ) ซึ่งมีเส้นใย (fiber) ช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในเลือด แต่ควรหลีกเลี่ยงผลไม้รสหวานจัด เช่น ทุเรียน เงาะ ลำไย
    กินรำข้าวโอ๊ต เมล็ดแมงลัก หรือสารเพิ่มกากใย
    กินกระเทียมสดวันละ 1-2 หัวใหญ่ (สับโรยกินกับข้าว หรือผสมในน้ำจิ้มก็ได้) มีส่วนช่วยลดคอเลสเตอรอลในเลือด
    ควรลดการบริโภคน้ำตาลและของหวาน น้ำหวาน น้ำอัดลม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผู้ที่มีไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง

2. ออกกำลังกายแบบแอโรบิก เช่น วิ่งเหยาะ เดินเร็ว ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ อย่างน้อยครั้งละ 30-45 นาที สัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง หรือวันเว้นวัน จะช่วยเพิ่มเอชดีแอลคอเลสเตอรอล ลดไตรกลีเซอไรด์และแอลดีแอลคอเลสเตอรอล

3. ถ้ามีภาวะน้ำหนักเกินให้ลดน้ำหนักตัว

4. งดสูบบุหรี่

5. งดหรือลดดื่มแอลกอฮอล์ ในรายที่มีไตรกลีเซอไรด์สูง ควรงดโดยเด็ดขาด

6. หาวิธีคลายเครียดด้วยการออกกำลังกาย ฝึกสมาธิ สวดมนต์ ทำงานอดิเรก เป็นต้น ความเครียดเป็นปัจจัยเสริมทำให้ไขมันในเลือดสูงในผู้ที่มีปัจจัยเสี่ยง

7. หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ทำให้ไขมันในเลือดสูง เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาปิดกั้นบีตา ยาเม็ดคุมกำเนิด สเตียรอยด์ เป็นต้น หากจำเป็น ควรให้แพทย์พิจารณา


การป้องกัน

    ลดการกินอาหารพวกไขมันชนิดอิ่มตัวและคอเลสเตอรอลสูง และงดกินไขมันทรานส์
    ลดการกินน้ำตาล ของหวาน ผลไม้รสหวาน น้ำหวาน น้ำอัดลม
    กินผักผลไม้และเมล็ดธัญพืชให้มาก ๆ
    ควบคุมน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติ ลดน้ำหนักถ้าอ้วนหรือมีภาวะน้ำหนักเกิน
    หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์จัด
    ไม่สูบบุหรี่
    ออกกำลังกายเป็นประจำ

ข้อแนะนำ

1. ไขมันในเลือดผิดปกติ (dyslipidemia) ที่สำคัญมีอยู่ 3 แบบ ได้แก่ (1) ไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง (2) แอลดีแอลคอเลสเตอรอล (ไขมันชนิดร้าย) สูง (3) เอชดีแอลคอเลสเตอรอล (ไขมันชนิดดี) ต่ำ

คำว่า "ไขมันในเลือดสูง (hyperlipidemia)" ทางแพทย์นั้นหมายถึงแบบที่ (1) และ (2) เท่านั้น ไม่ได้หมายรวมถึงแบบที่ (3) เนื่องเพราะเอชดีแอลคอเลสเตอรอล (ไขมันชนิดดี) สูงนั้นมีผลดีต่อสุขภาพ ซึ่งตรงกันข้ามกับเอชดีแอลคอเลสเตอรอลต่ำ ซึ่งถือว่าผิดปกติ เพราะมีผลเสียต่อสุขภาพ

แต่เนื่องจากโดยทั่วไปพบแบบที่ (1) และ (2) บ่อย จึงนิยมใช้คำว่า "ไขมันในเลือดสูง" จนคุ้นปาก และเป็นที่เข้าใจกันว่า "ไขมันในเลือดสูง" มีความหมายเดียวกับ "ไขมันในเลือดผิดปกติ" ซึ่งหมายรวมถึงความผิดปกติทั้ง 3 แบบ

ดังนั้น เมื่อตรวจพบว่ามี "ไขมันในเลือดสูง" ต้องแยกแยะให้ออกว่า เป็นไขมันในเลือดผิดปกติแบบใด เป็นชนิดไม่ดี (แอลดีแอลคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอร์ไรด์) ที่สูง หรือ ชนิดดี (เอชดีแอลคอเลสเตอรอล) ที่ต่ำ หากไขมันชนิดดีสูง ไม่นับว่าเป็นโรคไขมันในเลือดสูงหรือผิดปกติ

2. เนื่องจากภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ มักไม่มีอาการแสดงเป็นส่วนใหญ่ แม้ว่ามีสุขภาพทั่วไปแข็งแรงดี ก็ควรตรวจเช็กไขมันในเลือดตั้งแต่อายุ 20 ปีขึ้นไปทุก 5 ปี

ในการตรวจเช็กไขมันในเลือด ควรอดอาหาร (ยกเว้นน้ำเปล่า) อย่างน้อย 12 ชั่วโมง และในระยะ 3 สัปดาห์ก่อนตรวจ ควรมีน้ำหนักตัวคงที่ บริโภคอาหาร เครื่องดื่ม และทำกิจวัตรประจำวันตามปกติที่เคยทำ ทั้งนี้จะได้พบว่า พฤติกรรมที่เป็นนิสัยปกตินั้นมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของระดับไขมันในเลือดหรือยัง

ถ้าผลเลือดปกติ สำหรับกลุ่มเสี่ยงควรตรวจซ้ำทุก 1-3 ปี ส่วนผู้ที่ไม่มีปัจจัยเสี่ยงควรตรวจทุก 5 ปี

3. แม้ว่าผู้ที่มีน้ำหนักเกินหรืออ้วน จะมีความเสี่ยงสูงต่อการมีภาวะไขมันในเลือดผิดปกติ แต่ผู้ที่มีน้ำหนักตัวปกติหรือผอม หากมีปัจจัยเสี่ยงก็อาจมีภาวะดังกล่าวได้ หากไม่ได้เกิดจากพฤติกรรมการบริโภค ก็อาจเกี่ยวเนื่องกับความผิดปกติทางกรรมพันธุ์ก็ได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่มีระดับไขมันในเลือดสูงมาก

4. ผู้ที่มีไขมันในเลือดผิดปกติ ควรได้รับการรักษาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เพื่อควบคุมระดับไขมันให้ได้ตามเป้าหมาย รวมทั้งควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ (โดยเฉพาะอย่างยิ่งกลุ่มอาการเมตาบอลิก) ทั้งนี้เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด

5. การรักษาโรคนี้จำเป็นต้องอาศัยการปรับพฤติกรรมเป็นพื้นฐาน หากไม่ได้ผลก็ควรใช้ยาลดไขมันควบคู่กันไป โดยแพทย์จะทำการเลือกใช้ยาและปรับขนาดของยาให้เหมาะกับผู้ป่วยแต่ละราย

โดยทั่วไปแพทย์จะใช้ยาลดไขมันกลุ่มสแตติน (ได้แก่ ซิมวาสแตติน) เป็นอันดับแรก ถ้ามีผลข้างเคียงหรือไม่ได้ผล แพทย์จะเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่นในกลุ่มสแตติน (เช่น อะทอร์วาสแตติน) และ/หรือเพิ่มยาลดไขมันกลุ่มอื่น (เช่น กรดนิโคตินิก, คอเลสไทรามีน, ยากลุ่มไฟเบรต เป็นต้น )

6. ผลข้างเคียงที่พบบ่อยของยากลุ่มสแตติน ได้แก่ อาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ หรือกล้ามเนื้ออักเสบ หรือมีระดับเอนไซม์ตับในเลือดสูง (ซึ่งเสี่ยงต่อการเป็นตับอักเสบ) 

ที่ร้ายแรง คือ ถ้าใช้ร่วมกับยาอื่น อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดกล้ามเนื้ออักเสบ อาจรุนแรงถึงขั้นเกิดภาวะกล้ามเนื้อลายสลาย (rhabdomyolysis มีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อรุนแรง และปัสสาวะเป็นสีน้ำปลาหรือโคล่า) ซึ่งทำให้ไตวายเฉียบพลัน เป็นภาวะอันตรายร้ายแรงได้ 

การใช้ยาซิมวาสแตตินจึงมีข้อห้ามใช้ร่วมกับยาบางชนิด เช่น ยาลดไขมัน-เจมไฟโบรซิล (gemfibrocil), อีริโทรไมซิน, คลาริโทรไมซิน, ไอทราโคนาโซล, คีโทโคนาโซล, ไซโคสปอริน, ยาต้านไวรัสกลุ่ม protease inhibitors เป็นต้น

12
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากเสียงดัง
ในโรงงานอุตสาหกรรม
โรงงานหรือสถานประกอบกิจการที่มีปัญหาด้านเสียงเกินค่ามาตรฐาน อาจสร้างผลกระทบทั้งด้านอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงานต่อพนักงานในโรงงานเอง หรืออาจก่อให้เกิดมลพิษทางเสียงต่อชุมชนและสภาพแวดล้อมที่อยู่ด้านนอกโรงงาน หากเจ้าของแหล่งกำเนิดเสียงหรือผู้เกี่ยวข้องปล่อยปละละเลย ไม่จัดทำโครงการควบคุมเสียงหรือแก้ไขปัญหาดังกล่าวไม่สำเร็จ จะทำให้มีผลกระทบตามมา เช่น
•   เป็นผู้กระทำผิดกฎหมายด้านเสียง มีทั้งโทษปรับและจำคุก
•   ลูกจ้างอาจเกิดภาวะสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราวหรือแบบถาวร
•   ประสิทธิภาพการทำงานของพนักงานลดลงจากเสียงเกินค่ามาตรฐาน
•   ถูกร้องเรียนจากชุมชนหรือผู้ได้รับผลกระทบทางเสียงที่อยู่นอกโรงงาน
•   โรงงานหรือสถานประกอบกิจการอาจถูกสั่งปิดปรับปรุง จนกว่าจะแก้ไขแล้วเสร็จ

ทำไมต้องใช้บริการจาก
“NEWTECH INSULATION” ในการควบคุมเสียง?
ด้วยประสบการณ์กว่า 15 ปี ในการควบคุมเสียงอุตสาหกรรม เรามีความพร้อมทั้งด้านบุคลากรเฉพาะทางที่มีความรู้ด้านเสียงและความสั่นสะเทือน เครื่องมืออันทันสมัยที่ได้มาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด รวมถึงประสบการณ์ด้านการแก้ไขปัญหาเสียงอุตสาหกรรมที่มีทั้งในและต่างประเทศ ผู้ใช้บริการจึงมั่นใจได้ว่าปัญหาด้านเสียงในโรงงานหรือสถานประกอบกิจการจะได้รับการแก้ไขได้อย่างตรงจุด ด้วยค่าใช้จ่ายที่น้อยที่สุด เพราะเราเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมเสียงในอุตสาหกรรม
– บริษัทฯ ขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตเป็นนิติบุคคลผู้ให้บริการตรวจวัดและวิเคราะห์สภาวะการทำงานเกี่ยวกับระดับเสียง โดยกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
– บุคลากรของบริษัทฯ ได้รับใบอนุญาตเป็นผู้ควบคุมมลพิษเสียงและความสั่นสะเทือน จากสภาวิชาชีพวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
– มีทีมงานที่มากประสบการณ์และความรู้ ได้แก่ วิศวกร นักสิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ช่างเทคนิค รวมไปถึงช่างประกอบและติดตั้งระบบควบคุมเสียง
– มีเครื่องมือที่ได้มาตรฐานไว้ให้บริการทั้งด้านฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์
– มีสินค้าสำหรับควบคุมเสียงและความสั่นสะเทือนให้เลือกหลากหลายรูปแบบ เช่น ผนังกันเสียง ห้องเก็บเสียง ม่านกันเสียง ตู้ครอบลดเสียง แจ็คเก็ตลดเสียง ไซเลนเซอร์ อคูสติคลูเวอร์ อุปกรณ์แยกความสั่นสะเทือน เป็นต้น
– มีการประเมินหรือทำตัวแบบจำลองระดับเสียง ก่อน-หลัง ปรับปรุงให้ลูกค้าใช้เป็นข้อมูลในการตัดสินใจ ช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการแก้ปัญหาด้านเสียง
– รับประกันระดับเสียงที่ลดลง อยู่ในเกณฑ์ที่กฎหมายกำหนด
– รับประกันคุณภาพสินค้าและฝีมือการติดตั้งทุกงาน

บริษัท นิวเทค อินซูเลชั่น จำกัด
ผู้เชี่ยวชาญด้านการควบคุมเสียงในโรงงานอุตสาหกรรม
จากประสบการณ์ในการแก้ไขปัญหาด้านเสียงมายาวนาน ไม่ว่าจะเป็นเสียงทางอาชีวอนามัยและความปลอดภัยในการทำงาน และเสียงทางสิ่งแวดล้อม
ทางบริษัทฯ ยินดีให้คำแนะนำที่ทำได้จริงสำหรับการแก้ปัญหาด้านมลภาวะทางเสียงที่เกิดขึ้น เพื่อให้ทั้งโรงงาน พนักงาน หรือชุมชนโดยรอบอยู่ร่วมกันได้
“เพราะเรา…เข้าใจเรื่องเสียง”


สนใจสั่งซื้อ
เบอร์โทร:  02-583-8035 , 02-583-8034, 098-995-4650
E-mail: contact@newtechinsulation.com
Line ID: @newtechinsulation
Facebook: newtechthai
Instagram: newtechinsulation
เว็บไซด์: https://www.noisecontrol365.com/


13
บ้านติดรถไฟฟ้า ธนาฮาบิแทต นครอินทร์ - พระราม ๕ (Thana Habitat Nakhon In - Rama 5)
เริ่มต้น 6 ลบ. 

ธนาฮาบิแทต นครอินทร์ - พระราม ๕ (Thana Habitat Nakhon In - Rama 5)
โครงบ้านเดี่ยวและบ้านแฝด 2 ชั้น ที่มาด้วยคอนเซ็ปต์ Charming Urban Forest เสน่ห์ของธรรมชาติท่ามกลางพื้นที่สีเขียว สัมผัสอันผ่อนคลายจากสวนและต้นไม้ ตั้งบนพื้นที่ที่เดินทางได้อย่างสะดวก ใกล้รถไฟฟ้าสายสีแดง สายสีม่วง และสายสีน้ำเงิน

รายละเอียดโครงการ
 ชื่อโครงการ                ธนาฮาบิแทต นครอินทร์ - พระราม ๕ (Thana Habitat Nakhon In - Rama 5)
 เจ้าของโครงการ           ธนาสิริ กรุ๊ป
 แบรนด์ย่อย                 ธนาฮาบิแทต
 ราคา                        เริ่มต้น 6 ลบ.

 ประเภทบ้าน              บ้านเดี่ยว, บ้านแฝด
 ลักษณะทำเล            บ้านใกล้เมือง
 พื้นที่โครงการ           โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 จำนวนบ้าน              โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 แบบบ้านทั้งหมด         5 แบบ
  เนื้อที่บ้าน              ตั้งแต่ 35.3 ถึง 59.8 ตร.ว.
 พื้นที่ใช้สอย            ตั้งแต่ 154.93 ถึง 233.09 ตร.ม.
 จำนวนชั้น               2 ชั้น
 หน้ากว้าง              โปรดสอบถามข้อมูลกับทางโครงการ
 จำนวนห้องนอน           4 ห้อง
 จำนวนที่จอดรถ       ตั้งแแต่ 2 ถึง 3 คัน
 สาธารณูปโภค

สถานที่ใกล้เคียง
 โซน                 นนทบุรี, บางบัวทอง, บางใหญ่, ปากเกร็ด
 ที่ตั้ง                ถนนโยธาธิการ นนทบุรี 2001 ตำบลบางไผ่ อำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 11130

 ขนส่งสาธารณะ
ใกล้รถไฟฟ้า, รถไฟฟ้าสายสีน้ำเงิน, สถานี(ท่าพระ - บางซื่อ)(สิรินธร)
ใกล้รถไฟฟ้า, รถไฟฟ้าสายสีม่วง, สถานี(บางซื่อ - บางใหญ่)(แยกติวานนท์)
ใกล้รถไฟฟ้า, รถไฟฟ้าสายสีแดงอ่อน, สถานี(บ้านฉิมพลี - บางซื่อ)(บางบำหรุ)
ใกล้ทางด่วน (ทางพิเศษประจิมรัถยา)
ใกล้ถนนสายหลัก (ถนนนครอินทร์, ถนนสิริธร, ถนนราชพฤกษ์)

 สถานที่สำคัญใกล้เคียง
ศูนย์การค้า/ไลฟ์สไตล์
1.โลตัส นครอินทร์ 1.6 กม.
2.Makro นครอินทร์ 2.7 กม.
3.ตลาดครอบครัว สาขาบางกรวย 2.6 กม.
4.ตลาดคูล มาร์เก็ต บางกรวย 3.4 กม.
5.ไทวัสดุ นครอินทร์ 4 กม.
6.ตลาดชาวสยาม บางกรวย 4.1 กม.
7.The Walk ราชพฤกษ์ 5.4 กม.
8.ตั้งฮั่วเส็ง ธนบุรี 7.5 กิโลเมตร
9.ตลาดพระราม 5 8.6 กม.
10.Central Westville 8.8 กม.
11.Central ปิ่นเกล้า 9.7 กม.
12.The Crystal SB ราชพฤกษ์ 9.8 กม.

สถานศึกษา
1.โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) นนทบุรี 0.3 กม.
2.มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์ 3.9 กม.
3.โรงเรียนอุดมศึกษา 3.9 กม.
4.โรงเรียนนานาชาติ ร่วมฤดี ราชพฤกษ์ 5.1 กม.
5.โรงเรียนสตรีนนทบุรี 8.1 กม.
6.โรงเรียนเด่นหล้าพระราม 5 8.1 กม.
7.โรงเรียนศึกษาบัณฑิต 2.8 กม.
8.โรงเรียนเซนต์คาเบรียล 11.2 กม.
9.โรงเรียนอุดมศึกษา 5.9 กม.


โรงพยาบาล
1.โรงพยาบาลบางกรวย 4.7 กม.
2.โรงพยาบาลอนันต์พัฒนา 5.1 กม.
3.โรงพยาบาลศูนย์บริการการแพทย์นนทบุรี 5.4 กม.
4.โรงพยาบาลตา หู คอ จมูก 7.2 กม.
5.โรงพยาบาลยันฮี 7.7 กม.
6.โรงพยาบาลเจ้าพระยา 11 กม.
7.โรงพยาบาลศิริราช ปิยมหาราชการุณย์ 11.2 กม.
8.โรงพยาบาลบางใหญ่ 12.6 กม.
9.โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า 14 กม.
10.โรงพยาบาลรามาธิบดี 14.6 กม.

14
ปล่อยรถป้ายแดง Mazda CX-3 2.0 Comfort โปรโมชั่นพิเศษ ดาวน์ 25% ขึ้นรับดอกเบี้ยพิเศษ

มาสด้า Mazda CX-3 2.0 Comfort ปี 2023
Mazda CX-3 2.0 Comfort มาพร้อมเครื่องยนต์สกายแอคทีฟเบนซิน ขนาด 2.0 ลิตร (SKYACTIV-G 2.0) ให้พละกำลังแรงม้าสูงสุดถึง 156 แรงม้า ประหยัดน้ำมันถึง 16.4 กม./ลิตร* และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พร้อมระบบควบคุมสมรรถนะการขับขี่อัจฉริยะ หรือ G-Vectoring Control (GVC) เทคโนโลยีเฉพาะของมาสด้าภายใต้ Skyactiv-Vehicle Dynamics ที่ช่วยควบคุมสมรรถนะการขับขี่ให้แม่นยำและสมดุล เพื่อให้ผู้ขับขี่สัมผัสถึงความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกันระหว่างคนกับรถได้อย่างสมบูรณ์แบบยิ่งขึ้น

หมายเหตุ : รายละเอียดของรถยนตอ์าจมีการเปลี่ยนแปลงภายหลัง

รถผู้บริหาร รถทดลองขับ ไมล์น้อย ราคาและโปรโมชั่นพิเศษ

โปรโมชั่นพิเศษ
ตั้งแต่ 19 มี.ค. - 31 มี.ค. 2568
พิเศษสำหรับลูกค้า Checkraka รับส่วนลดเพิ่ม 20,000 บาท
โปรโมชั่นพิเศษ ดาวน์ 25% ขึ้นรับดอกเบี้ยพิเศษ 1.99% 4 ปี

ราคาพิเศษ 750,000 บาท

สนใจสอบถา มรายละเอียดกดลิ้ง https://www.checkraka.com/flashdeal/car

รายละเอียดเบื้องต้น
   แบรนด์                   Mazda
   รุ่น                        มาสด้า Mazda CX-3 2.0 Comfort ปี 2023
   ประเภทรถ               รถอเนกประสงค์ SUV
   ปีที่เปิดตัว               2023


15
โรคหลอดเลือดสมอง/สโตรก (Stroke/Cerebrovascular accident/CVA)

โรคหลอดเลือดสมอง/อัมพาตครึ่งซีก* จัดว่าเป็นโรคที่พบได้บ่อยในบ้านเราขณะนี้ มักพบในวัยกลางคนขึ้นไปเป็นส่วนใหญ่ และเป็นได้ทั้งหญิงและชาย

โรคนี้เกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดแดงในสมอง กล่าวคืออาจมีการตีบ ตัน หรือแตกของหลอดเลือดเหล่านี้ ทำให้เนื้อสมองบางส่วนที่ทำหน้าที่ควบคุมการทำงานของร่างกายตายไปและหยุดสั่งงาน จึงทำให้เกิดอาการอัมพาตของร่างกายส่วนนั้น ๆ ขึ้น

อาการมักจะเกิดขึ้นฉับพลันทันที เรียกว่า โรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน สโตรก (stroke) โรคลมอัมพาต หรือ โรคลมปัจจุบัน

*อัมพาต (paralysis) หมายถึง อาการอ่อนแรงของแขนขาหรืออวัยวะภายนอกอื่น ๆ (เช่น ใบหน้า ตา ปาก) ทำให้ร่างกายส่วนนั้นเคลื่อนไหวไม่ได้หรือได้น้อยกว่าปกติ โดยอาจมีอาการชา (ไม่รู้สึกเจ็บ) ร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้

ถ้าขาทั้ง 2 ข้างมีอาการอ่อนแรง หรือขยับเขยื้อนไม่ได้ เรียกว่า อัมพาตครึ่งล่าง (paraplegia) ถ้าแขนขาทั้ง 4 ขยับเขยื้อนไม่ได้ เรียกว่า อัมพาตหมดทั้งแขนขา (quadriplegia) อัมพาตทั้ง 2 ลักษณะนี้มักมีสาเหตุจากโรคของไขสันหลัง (ไขสันหลังอักเสบเฉียบพลัน, ไขสันหลังได้รับบาดเจ็บ, เนื้องอกไขสันหลัง)

แต่ถ้าแขนขาเพียงซีกใดซีกหนึ่งอ่อนแรง หรือขยับเขยื้อนไม่ได้ เรียกว่า อัมพาตครึ่งซีก (hemiplegia) ซึ่งเป็นเรื่องที่จะกล่าวถึงในที่นี้

สาเหตุ

โรคนี้แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ซึ่งมีอาการแสดง ความรุนแรง และวิธีการรักษาที่ต่างกัน ดังนี้

1. สมองขาดเลือดจากการอุดตัน (ischemic stroke) พบได้ประมาณร้อยละ 80 ของโรคหลอดเลือดสมอง แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่

(1) หลอดเลือดสมองตีบ (cerebral thrombosis/thrombotic stroke) เกิดจากภาวะหลอดเลือดแดงแข็งและตีบจากการสะสมของไขมันที่ผนังด้านในของหลอดเลือด* ซึ่งจะค่อย ๆ พอกหนาตัวขึ้นทีละน้อยจนเกิดการตีบตันของหลอดเลือด หรือเกิดจากการมีลิ่มเลือด (thrombosis) ในหลอดเลือดขยายตัวจนอุดตันหลอดเลือด ทำให้เซลล์สมองขาดเลือดไปเลี้ยง ซึ่งหากแก้ไขไม่ทัน เซลล์สมองเกิดการตาย จะทำให้กล้ามเนื้อแขนขาข้างใดข้างหนึ่งอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาตอย่างถาวร

โรคนี้มักพบในผู้ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน ภาวะไขมันในเลือดสูง หรือมีประวัติสูบบุหรี่ ซึ่งมีโอกาสเกิดภาวะนี้ได้ก่อนวัยสูงอายุ เนื่องจากกลุ่มคนเหล่านี้มักมีภาวะหลอดเลือดแดงแข็งเร็วกว่าปกติ

นอกจากนี้ ผู้ที่มีอายุมาก (≥ 55 ปีในผู้ชาย และ 65 ปีในผู้หญิง) ผู้ที่ดื่มแอลกอฮอล์จัด หญิงที่กินยาเม็ดคุมกำเนิด (โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าสูบบุหรี่ร่วมด้วย) คนอ้วนหรือมีภาวะน้ำหนักเกิน ผู้ที่ขาดการออกกำลังกาย หรือมีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ และผู้ที่มีญาติพี่น้องเป็นอัมพาตครึ่งซีกก็อาจมีโอกาสเป็นโรคนี้มากกว่าปกติ

ภาวะหลอดเลือดสมองตีบตันเป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดสมองหรืออัมพาตครึ่งซีกที่พบได้บ่อยกว่าสาเหตุอื่น ๆ และมีอันตรายน้อยกว่าหลอดเลือดสมองแตก

ภาวะสมองขาดเลือดจากการอุดตัน นอกจากเกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดแดงในสมองแล้ว ยังพบว่าประมาณร้อยละ 10-15 ของผู้ป่วยสโตรกเกิดจากความผิดปกติของหลอดเลือดแดงที่คอหรือหลอดเลือดคาโรติด (carotid artery) ซึ่งทำหน้าที่ส่งเลือดไปเลี้ยงสมอง

(2) ภาวะสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง (cerebral embolism/embolic stroke) เนื่องจากมี "สิ่งหลุด" ซึ่งเป็นลิ่มเลือดที่เกิดขึ้นในหลอดเลือดที่อยู่นอกสมอง (ที่พบบ่อยคือ ลิ่มเลือดที่เกิดขึ้นในหลอดเลือดแดงที่คอและหัวใจ) หลุดลอยตามกระแสเลือดขึ้นไปอุดตันในหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงสมอง ทำให้เซลล์สมองตายเพราะขาดเลือด มักพบในผู้ป่วยที่เป็นโรคหลอดเลือดแดงที่คอตีบ (carotid artery disease) และโรคหัวใจ (เช่น โรคหัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว หรือ atrial fibrillation, โรคหัวใจรูมาติก, กล้ามเนื้อหัวใจตาย, โรคหัวใจพิการแต่กำเนิด, เยื่อบุหัวใจอักเสบ, โรคลิ้นหัวใจพิการ, ผู้ป่วยที่ผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม เป็นต้น) นอกจากนี้ยังอาจพบในผู้ป่วยที่มีภาวะเม็ดเลือดแดงมาก (polycythemia), ผู้ป่วยที่มีไขกระดูกหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง (ซึ่งพบในผู้ป่วยที่กระดูกหัก)

2. หลอดเลือดสมองแตก/เลือดออกในสมอง (cerebral hemorrhage/hemorrhagic stroke) ทำให้เนื้อสมองโดยรอบตาย พบได้ประมาณร้อยละ 20 ของโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน (สโตรก) ถือเป็นภาวะร้ายแรง อาจทำให้ผู้ป่วยตายได้ในเวลารวดเร็ว มีอัตราตายโดยเฉลี่ยร้อยละ 40-50

ถ้าพบในผู้สูงอายุมักมีสาเหตุจากโรคความดันโลหิตสูง

นอกจากนี้ ยังอาจมีสาเหตุจากความผิดปกติของหลอดเลือดแดงที่เป็นมาแต่กำเนิด เช่น หลอดเลือดโป่งพอง (congenital aneurysm) หลอดเลือดฝอยผิดปกติ (arteriovenous malformation/AVM) เป็นต้น หลอดเลือดผิดปกติเหล่านี้มักจะแตกและทำให้เกิดอาการอัมพาตเมื่อผู้ป่วยอยู่ในวัยหนุ่มสาวหรือวัยกลางคน

บางรายอาจมีสาเหตุจากภาวะการแข็งตัวของเลือดบกพร่อง (เช่น ตับแข็ง มะเร็งเม็ดเลือดขาว ภาวะเกล็ดเลือดต่ำ โรคเลือดบางชนิด เป็นต้น) การได้รับยาต้านเกล็ดเลือด (เช่น แอสไพริน) สารกันเลือดเป็นลิ่ม (เช่น วาร์ฟาริน) หรือยาเสพติด (แอมเฟตามีน โคเคน) การดื่มแอลกอฮอล์จัด เนื้องอกสมองที่มีภาวะเลือดออก การบาดเจ็บที่ศีรษะ (ดูเพิ่มเติมใน "ภาวะศีรษะได้รับบาดเจ็บ เลือดออกในสมอง") เป็นต้น

*ภาวะหลอดเลือดแดงแข็ง (atherosclerosis) เกิดจากการมีไขมันสะสมที่ผนังด้านในของหลอดเลือดแดงเป็นแผ่น เรียกว่า “แผ่นคราบไขมัน (atherosclerotic plaque)” หรือ “ตะกรันท่อเลือดแดง (atheroma)” ซึ่งประกอบด้วยไขมัน คอเลสเตอรอล และสารอื่น เช่น แคลเซียม เนื้อเยื่อเส้นใย เม็ดเลือดขาว-มาโครฟาจ (macrophage)

เมื่อแผ่นคราบหรือตะกรันดังกล่าวหนาตัวขึ้น ทำให้หลอดเลือดมีรูที่ตีบแคบ เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ (เช่น หัวใจ สมอง ไต แขนขา) น้อยลง อวัยวะนั้น ๆ เกิดภาวะขาดเลือด ทำให้เซลล์ของอวัยวะนั้นตายหรืออวัยวะนั้นเสื่อมได้ เช่น ทำให้เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย (แขนขา) ตีบ ไตวายเรื้อรัง เป็นต้น     

นอกจากนี้ แผ่นคราบไขมันอาจมีความเปราะและแตกได้ ทำให้มีลิ่มเลือดเกิดขึ้นตรงรอยแตกของแผ่นคราบ เกิดการอุดตันหลอดเลือดโดยตรง หรือหลุดลอยไปอุดตันหลอดเลือดแขนงที่มีขนาดเล็กกว่า ขณะเดียวกัน อาจมีเศษของแผ่นคราบที่แตกหลุดลอยไปอุดตันหลอดเลือดแขนงเล็กได้เช่นกัน เช่น แผ่นคราบหรือลิ่มเลือดที่เกิดขึ้นในหลอดเลือดคาโรติด (หลอดเลือดแดงที่คอ ซึ่งมีขนาดใหญ่) หลุดลอยไปอุดตันหลอดเลือดขนาดเล็กในสมอง ทำให้เกิดโรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ (TIA) หรือโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน (สโตรก) ได้

อาการ

1. ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตเนื่องจากหลอดเลือดสมองตีบ ส่วนใหญ่มักจะมีอาการแขนขาซีกหนึ่งอ่อนแรงลงทันทีทันใด ผู้ป่วยอาจสังเกตพบอาการแขนขาข้างหนึ่งอ่อนแรงหรือเป็นอัมพาตขณะตื่นนอน หรือขณะเดินหรือทำงานอยู่ก็รู้สึกทรุดล้มลงไป ผู้ป่วยอาจจะมีอาการอื่น ๆ ร่วมด้วยก็ได้ เช่น อาการชาตามแขนขา ตามัว เห็นภาพซ้อน หนังตาตก ปากเบี้ยว (เวลายิ้มกว้างเห็นมีมุมปากตกข้างหนึ่ง) พูดไม่ได้ หรือพูดอ้อแอ้ หรือกลืนไม่ได้

บางรายอาจมีอาการปวดศีรษะ เวียนศีรษะ บ้านหมุน หรือมีความรู้สึกสับสนนำมาก่อนที่จะมีอาการอัมพาต

ผู้ป่วยมักจะมีอาการแขนขาชาหรืออ่อนแรงเพียงข้างใดข้างหนึ่ง (อัมพาตครึ่งซีก) เท่านั้น กล่าวคือ ถ้าการตีบตันของหลอดเลือดเกิดขึ้นในสมองข้างซ้าย ก็จะมีอาการอัมพาตที่ซีกขวา (ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตซีกขวาอาจพูดไม่ได้ เพราะศูนย์ควบคุมการพูดอยู่ในสมองข้างซ้าย) ถ้าเกิดขึ้นในสมองข้างขวาก็จะเกิดอาการอัมพาตที่ซีกซ้าย

ผู้ป่วยส่วนมากจะรู้สึกตัวดี หรืออาจจะซึมลงเล็กน้อย ยกเว้นในรายที่เป็นรุนแรง อาจมีอาการหมดสติร่วมด้วย

อาการอัมพาตมักจะเป็นอยู่นานกว่า 24 ชั่วโมงขึ้นไป และจะเป็นอยู่นานเป็นแรมเดือนแรมปี หรือตลอดชีวิต

ผู้ป่วยบางราย อาจมีอาการแขนขาซีกหนึ่งชาและอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ได้ ตามัว หรือเวียนศีรษะ บ้านหมุน ซึ่งมักจะเป็นนานประมาณ 2-30 นาที (น้อยรายที่อาจนานเป็นชั่วโมง เต็มที่จะไม่เกิน 24 ชั่วโมง) แล้วหายเป็นปกติได้เอง เรียกว่า โรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ หรือทีไอเอ (TIA ซึ่งย่อมาจาก transient ischemic attack)*

2. ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตเนื่องจากภาวะสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง จะมีอาการคล้ายในข้อ 1 แต่อาการอัมพาตมักเกิดขึ้นฉับพลันทันที อาจมีประวัติเป็นโรคหัวใจ ผ่าตัดหัวใจ หรือกระดูกหักมาก่อน

3. ผู้ป่วยที่เป็นอัมพาตเนื่องจากหลอดเลือดสมองแตก อาการมักเกิดขึ้นทันทีทันใดโดยไม่มีสิ่งบอกเหตุล่วงหน้า บางรายอาจเกิดอาการขณะทำงานออกแรงมาก ๆ หรือขณะร่วมเพศ ผู้ป่วยอาจบ่นปวดศีรษะรุนแรงหรือปวดศีรษะซีกเดียวอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน และมักมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนร่วมด้วย แล้วก็มีอาการปากเบี้ยว พูดไม่ได้ แขนขาค่อย ๆ อ่อนแรง อาจชักและหมดสติในเวลารวดเร็ว

ถ้าตกเลือดรุนแรง ผู้ป่วยมักมีอาการหมดสติ ตัวเกร็ง รูม่านตาหดเล็กทั้ง 2 ข้าง ซึ่งมักจะตายใน 1-2 วัน

ถ้าตกเลือดไม่รุนแรง ก็อาจมีโอกาสฟื้นและค่อย ๆ ดีขึ้น หรือถ้าได้รับการผ่าตัดได้ทันท่วงทีก็อาจช่วยให้รอดได้

ในกรณีที่เกิดจากการแตกของหลอดเลือดโป่งพอง (aneurysm) หรือหลอดเลือดฝอยผิดปกติ (AVM) ซึ่งมักพบในช่วงอายุ 25-50 ปี อาจมีเลือดรั่วซึมเล็กน้อยนำมาก่อน โดยผู้ป่วยจะมีอาการปวดศีรษะอย่างต่อเนื่อง อาจมีอาการปวดใบหน้าและเห็นภาพซ้อนร่วมด้วยนานเป็นนาที ๆ ถึงเป็นสัปดาห์ เมื่อหลอดเลือดแตกจะมีอาการปวดศีรษะรุนแรงฉับพลันและหมดสติ อาจหมดสติอย่างต่อเนื่อง หรือหมดสติอยู่ระยะหนึ่งแล้วฟื้นคืนสติ แต่จะมีอาการสับสน ง่วงนอน ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ อาเจียน

*โรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ (TIA) เกิดจากสมองขาดเลือดจากการอุดตันเพียงชั่วขณะ อาจเกิดจากหลอดเลือดแดงในสมองหรือหลอดเลือดแดงที่คอตีบตัน หรือมีสิ่งหลุดจากหลอดเลือดแดงที่อยู่นอกกะโหลกศีรษะลอยไปอุดตันในหลอดเลือดสมอง ผู้ป่วยจะมีอาการแสดง สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง และการป้องกันแบบเดียวกับโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน (สโตรก) ต่างกันตรงที่โรคสมองขาดเลือดชั่วขณะจะมีอาการอยู่นานไม่เกิน 24 ชั่วโมง (ส่วนใหญ่จะเป็นเพียง 2-30 นาที) แล้วหายได้เอง โดยร่างกายเกิดกลไกธรรมชาติที่สามารถทำให้การอุดตันนั้นหายไปได้อย่างรวดเร็ว เปิดทางให้เลือดไหลไปเลี้ยงสมองได้เป็นปกติ

เนื่องจากพบว่า ผู้ป่วยที่เป็นโรคสมองขาดเลือดชั่วขณะหากไม่ได้รับการรักษา ประมาณร้อยละ 10-20 จะกลายเป็นสโตรกตามมาภายใน 3 เดือน (ประมาณครึ่งหนึ่งของผู้ป่วยกลุ่มนี้จะเป็นสโตรกภายใน 2 วันหลังเป็นโรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ) และผู้ที่เป็นสโตรก ประมาณร้อยละ 15-30 จะมีประวัติว่าเคยมีอาการของโรคสมองขาดเลือดชั่วขณะมาก่อน โรคสมองขาดเลือดชั่วขณะจึงถือเป็นสัญญาณเตือนภัยของการเกิดโรคสโตรก ดังนั้น หากมีอาการสมองขาดเลือด (เช่น แขนขาซีกหนึ่งอ่อนแรง พูดอ้อแอ้ ปากเบี้ยว) ไม่ว่าสงสัยจะเป็นโรคสโตรกหรือโรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ ก็ควรรีบไปโรงพยาบาลด่วน ทั้ง 2 โรคนี้จำเป็นต้องได้รับการรักษาโดยเร็ว ซึ่งจะป้องกันไม่ให้กลายเป็นอัมพาตครึ่งซีกอย่างถาวร

ภาวะแทรกซ้อน

    มีอาการแขนขาอ่อนแรง เคลื่อนไหว หรือเดินลำบาก อาจทำให้หกล้ม กระดูกหัก หรือศีรษะได้รับบาดเจ็บได้
    ปากเบี้ยว พูดลำบาก กลืนอาหารลำบาก หรือสำลักอาหาร (เกิดภาวะอุดกั้นของทางเดินหายใจหรือปอดอักเสบ)
    ไม่สามารถทำกิจวัตรประจำวันได้ด้วยตนเอง มีความรู้สึกเป็นภาระให้คนอื่น สูญเสียความมั่นใจในตนเอง เก็บตัว ไม่เข้าสังคม
    บางรายอาจมีความจำเสื่อม คิดช้า ไม่เข้าใจเหตุผล หรือตัดสินใจไม่ได้
    ควบคุมอารมณ์ไม่ได้ หงุดหงิดง่าย หรือเป็นโรคซึมเศร้า
    ในรายที่เป็นอัมพาตเรื้อรังและนอนติดเตียง อาจเกิดแผลกดทับ (bed sores) ที่ก้น หลัง และข้อต่าง ๆ อาจเป็นปอดอักเสบ หรือโรคทางเดินปัสสาวะอักเสบแทรกซ้อนได้บ่อย ๆ ซึ่งอาจเกิดภาวะโลหิตเป็นพิษที่ร้ายแรงตามมาได้

นอกจากนี้การนอนติดเตียงนาน ๆ อาจทำให้เกิดภาวะหลอดเลือดดำส่วนลึกมีลิ่มเลือด ซึ่งทำให้เกิดภาวะสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือดแดงปอด เป็นอันตรายถึงเสียชีวิตได้

ในรายที่เป็นรุนแรงหรือมีโรคที่พบร่วม (เช่น โรคหัวใจ ชีพจรเต้นผิดจังหวะ) อาจเสียชีวิตด้วยโรคแทรกซ้อนทางสมอง หรือโรคหัวใจ


การวินิจฉัย

แพทย์จะวินิจฉัยเบื้องต้นจากอาการ ประวัติการเจ็บป่วย และการตรวจร่างกาย


การตรวจร่างกาย นอกจากอาการอัมพาตของแขนขาซีกหนึ่งแล้ว อาจมีอาการปากเบี้ยว พูดไม่ได้ ซึม ความดันโลหิตสูง รีเฟล็กซ์ของข้อ (tendon reflex) ไวกว่าปกติ อาจมีอาการหายใจช้าหรือหายใจไม่สม่ำเสมอ

ในรายที่เกิดจากภาวะสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง การตรวจร่างกายอาจพบความผิดปกติของหัวใจ เช่น ฟังได้เสียงฟู่ (murmur) หรือหัวใจเต้นผิดจังหวะ หรือเต้นแผ่วระรัวร่วมด้วย

ในรายที่เกิดจากหลอดเลือดสมองแตก อาจมีอาการไม่ค่อยรู้สึกตัว หมดสติ คอแข็ง และความดันโลหิตสูงรุนแรงร่วมด้วย อาจตรวจพบรูม่านตา 2 ข้างไม่เท่ากัน ถ้าเป็นรุนแรงอาจพบรูม่านตาหดเล็กทั้ง 2 ข้าง

ในรายที่เป็นโรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ หากมาพบในระยะที่อาการหายแล้ว มักตรวจไม่พบอาการผิดปกติทางสมอง นอกจากภาวะหรือโรคที่เป็นสาเหตุ (เช่นความดันโลหิตสูง ชีพจรเต้นผิดปกติ โรคหัวใจ)

แพทย์จะทำการวินิจฉัยให้แน่ชัด โดยการถ่ายภาพสมองด้วยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI) หรือเอกซเรย์คอมพิวเตอร์ การถ่ายภาพสมองด้วยการฉีดสีเข้าหลอดเลือดสมอง (cerebral angiogram) การตรวจหลอดเลือดแดงที่คอด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (carotid doppler ultrasound) การถ่ายภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูง (echocardiogram) การเจาะหลัง การตรวจเลือด ตรวจปัสสาวะ คลื่นไฟฟ้าหัวใจ เป็นต้น


การรักษาโดยแพทย์

แพทย์จะรับตัวไว้รักษาในโรงพยาบาล เพื่อตรวจหาสาเหตุและให้การรักษาตามสาเหตุ ดังนี้

1. ในรายที่เป็นโรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ (TIA) ซึ่งมีอาการเพียงชั่วขณะแล้วหายเป็นปกติได้เอง แพทย์จะให้ยาควบคุมโรคหรือภาวะที่เป็นปัจจัยเสี่ยง เช่น ความดันโลหิตสูง เบาหวาน ไขมันในเลือดผิดปกติ เป็นต้น และให้ยาต้านเกล็ดเลือด เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดลิ่มเลือดอุดตันหลอดเลือดขึ้นใหม่ ยาที่ใช้ได้แก่ แอสไพริน ขนาด 81-325 มก. วันละครั้ง ทุกวัน ในรายที่กินแอสไพรินไม่ได้ จะให้โคลพิโดเกรล (clopidogrel) แทน

ในรายที่ตรวจพบว่า หลอดเลือดแดงที่คอ (carotid artery) มีการตีบมากกว่าร้อยละ 70 อาจต้องทำการผ่าตัดหลอดเลือด (endarterectomy) เพื่อขจัดแผ่นคราบไขมันและลิ่มเลือดออกไป บางรายอาจใช้บัลลูนขยายหลอดเลือดและใส่หลอดลวดตาข่าย (stent)

ผลการรักษา สำหรับโรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ การได้รับการรักษาโดยเร็วและต่อเนื่อง นอกจากป้องกันไม่ให้อาการของโรคนี้กลับมากำเริบใหม่แล้ว ยังช่วยลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคสโตรกตามมาได้ถึงร้อยละ 80 อีกด้วย

2. ในรายที่เป็นสโตรกที่เกิดจากสมองขาดเลือดจากการอุดตัน (หลอดเลือดสมองตีบและสิ่งหลุดอุดตันหลอดเลือดสมอง) นอกจากให้การรักษาตามอาการ (เช่น ให้น้ำเกลือ ช่วยการหายใจ ควบคุมชีพจรถ้าเต้นแผ่วระรัว ยาลดไข้ถ้าไข้สูง ให้ยาลดความดันโลหิตถ้าสูงมาก) แล้ว เมื่อถ่ายภาพสมองยืนยันว่าเกิดจากภาวะนี้ (ไม่ใช่เลือดออกในสมอง) แพทย์ก็จะพิจารณาให้ยาละลายลิ่มเลือด (thrombolytic agent) ได้แก่ recombinant tissue-type plasminogen activator (rt-PA) เข้าทางหลอดเลือดดำเพื่อเปิดทางให้เลือดไหลไปเลี้ยงสมอง ทำให้เซลล์สมองไม่ตาย ช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นคืนสู่ปกติได้เร็ว ยานี้จะได้ผลดีต้องให้ภายใน 4 ชั่วโมงครึ่ง (270 นาที) นับแต่เริ่มเกิดอาการ และผู้ป่วยจะต้องไม่มีภาวะที่เป็นข้อห้ามในการใช้ยานี้ (เช่น หมดสติ ชักเมื่อแรกมีอาการ ความดันโลหิต > 185/110 มม.ปรอท เกล็ดเลือดต่ำ ได้รับยาต้านการแข็งตัวของเลือด ภาวะการแข็งตัวของเลือดบกพร่อง มีภาวะเลือดออก เป็นต้น)

ในบางกรณี แพทย์อาจให้สารกันเลือดเป็นลิ่ม (anti-coagulant) ได้แก่ เฮพาริน (heparin) ในผู้ป่วยที่มีภาวะหัวใจห้องบนเต้นแผ่วระรัว โรคลิ้นหัวใจพิการ หรือมีความเสี่ยงต่อการเกิดลิ่มเลือดซ้ำ ถ้าให้ตามหลังยาละลายลิ่มเลือด (tPA) ควรทิ้งช่วงให้ห่างอย่างน้อย 24 ชั่วโมงขึ้นไป

หลังจากอาการคงที่แล้ว แพทย์จะให้ยาต้านเกล็ดเลือด (เช่น แอสไพริน, โคลพิโดเกรล) ให้ยาควบคุมโรคหรือภาวะที่เป็นสาเหตุ และทำการฟื้นฟูสภาพ โดยการทำกายภาพบำบัดและการใช้อุปกรณ์ช่วย

ในรายที่ตรวจพบมีหลอดเลือดแดงที่คอตีบ อาจให้การรักษาด้วยการผ่าตัดหลอดเลือด หรือใช้บัลลูนขยายหลอดเลือด

ผลการรักษา ขึ้นกับความรุนแรงของโรค ถ้าเป็นเล็กน้อยและได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตั้งแต่แรกก็อาจหายเป็นปกติ หรือฟื้นสภาพได้จนเกือบปกติ จนช่วยตัวเองได้ พูดได้ เดินได้ แต่อาจใช้มือไม่ถนัด ในรายที่เป็นรุนแรงหรือไม่ได้รับการรักษาทันท่วงที ก็มักจะมีความพิการหรือบกพร่องทางร่างกาย ซึ่งต้องการการดูแลจากผู้อื่น นั่งรถเข็น หรือใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน

ส่วนน้อยที่จะพิการรุนแรงจนต้องนอนอยู่บนเตียง และต้องการผู้ดูแลตลอดเวลา หรือรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตขณะพักรักษาอยู่ในโรงพยาบาล

โดยทั่วไปการฟื้นตัวของร่างกายมักจะต้องใช้เวลา ถ้าจะดีขึ้นก็จะเริ่มมีอาการดีขึ้นให้เห็นภายใน 2-3 สัปดาห์ และจะค่อย ๆ ฟื้นตัวขึ้นเรื่อย ๆ จนสามารถช่วยตัวเองได้หรือหายจนเกือบเป็นปกติ

3. ในรายที่เกิดจากหลอดเลือดสมองแตก ให้การรักษาตามอาการ เช่น ให้น้ำเกลือ ใส่ท่อหายใจและเครื่องช่วยหายใจ ควบคุมความดันโลหิตถ้าสูงรุนแรง เป็นต้น ในรายที่มีก้อนเลือดในสมองอาจจำเป็นต้องทำการผ่าตัดสมองแบบเร่งด่วน ส่วนในรายที่มีเลือดออกเพียงเล็กน้อยและไม่กดถูกสมองส่วนสำคัญ ก็อาจไม่ต้องผ่าตัด เมื่อปลอดภัยแล้วจึงค่อยทำการฟื้นฟูสภาพต่อไป

ผลการรักษา ขึ้นกับตำแหน่งและปริมาณของเลือดที่ออก สภาพของผู้ป่วย (อายุ โรคประจำตัว) และการเกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ

ถ้าเลือดออกในก้านสมองจะมีอัตราตายสูงถึงร้อยละ 90-95 เมื่อพบภาวะนี้มักจะไม่สามารถให้การบำบัดรักษา

ถ้าก้อนเลือดมีขนาดใหญ่ และแตกเข้าโพรงสมอง จะมีอัตราตายถึงร้อยละ 50

ถ้าเลือดออกที่บริเวณผิวสมอง หรือก้อนเลือดขนาดเล็ก และไม่แตกเข้าโพรงสมองจะมีอัตราตายต่ำ

ผู้ป่วยที่มีอาการรุนแรง หากรอดชีวิต ก็มักจะมีความพิการอย่างถาวร บางรายอาจกลายสภาพเป็นผักหรือคนนิทรา (vegetative state) อยู่นานหลายปี ในที่สุดมักเสียชีวิตจากภาวะแทรกซ้อน เช่น ปอดอักเสบ โรคติดเชื้อต่าง ๆ

ส่วนผู้ป่วยที่มีอายุน้อย ซึ่งมักเกิดจากการแตกของหลอดเลือดที่ผิดปกติที่เป็นมาแต่กำเนิด ถ้าแตกตรงตำแหน่งที่ไม่สำคัญ และได้รับการรักษาอย่างถูกต้องตั้งแต่แรก มักจะสามารถฟื้นหายได้เป็นปกติ

ผู้ป่วยหลังผ่าตัดบางราย แม้ว่าร่างกายจะฟื้นตัวได้ดี แต่อาจมีโรคลมชักแทรกซ้อนตามมา ซึ่งจำเป็นต้องกินยากันชักควบคุมอาการตลอดไป


การดูแลตนเอง

หากอยู่ ๆ มีอาการแขนขาซีกหนึ่งชาหรืออ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ได้ หรือมีอาการปวดศีรษะรุนแรงหรือปวดศีรษะซีกเดียวอย่างไม่เคยเป็นมาก่อน และมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน แล้วก็มีอาการปากเบี้ยว พูดไม่ได้ แขนขาค่อย ๆ อ่อนแรง อาจชักและหมดสติในเวลารวดเร็ว ควรรีบพาผู้ป่วยไปพบแพทย์ที่โรงพยาบาลใกล้บ้านทันที

เมื่อตรวจพบว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน (สโตรก) หรือโรคหลอดเลือดสมองขาดเลือดชั่วขณะ ควรดูแลรักษาและปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์

เมื่อได้รับการรักษาจนสามารถกลับมาพักฟื้นที่บ้าน ควรดูแลตนเอง ดังนี้

    ดูแลรักษา กินยาตามคำแนะนำของแพทย์อย่างเคร่งครัด และติดตามรักษากับแพทย์ตามนัด
    กินอาหารสุขภาพ (ลดอาหารหวาน มัน เค็ม) ลดน้ำหนัก (ถ้าน้ำหนักเกิน) นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ หาทางผ่อนคลายความเครียด (เช่น สวดมนต์ ไหว้พระ ทำสมาธิ) เคลื่อนไหวร่างกายหรือออกกำลังกาย (เท่าที่ร่างกายจะอำนวย)
    ไม่สูบบุหรี่ ไม่ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
    หลีกเลี่ยงการซื้อยา สมุนไพร อาหารเสริมมาใช้เอง หากจะใช้ควรปรึกษาแพทย์ถึงผลดีและความปลอดภัย เนื่องจากสิ่งเหล่านี้อาจมีผลข้างเคียงทำให้ตับอักเสบหรือไตเสื่อมได้ หรืออาจมีปฏิกิริยากับยาที่รักษา (เสริมหรือต้านฤทธิ์ยา) เกิดผลเสียต่อการควบคุมโรคหรือเกิดผลข้างเคียงที่อาจเป็นอันตราย (เช่น เลือดออก น้ำตาลในเลือดต่ำ) ได้
    ฝึกทำกายภาพบำบัดอย่างต่อเนื่องตามคำแนะนำของแพทย์/นักกายภาพบำบัด เช่น พยายามบริหารข้อโดยการเหยียดและงอแขนขาตรงทุก ๆ ข้อต่อบ่อย ๆ เพื่อป้องกันมิให้ข้อเกร็งแข็ง, หมั่นบริหารกล้ามเนื้อ และพยายามใช้แขนขาเพื่อให้ฟื้นตัวเร็วขึ้น (ถ้าผู้ป่วยนอนเฉย ๆ ไม่พยายามใช้แขนขา กล้ามเนื้อก็จะลีบและข้อแข็ง) ฝึกเดิน ฝึกพูด ฝึกเขียนหนังสือ
    ในกรณีที่นอนติดเตียง ควรใช้ที่นอนที่ลดแรงกดทับ (เช่น ที่นอนน้ำ ที่นอนลม) และผู้ดูแลควรทำการพลิกตัวผู้ป่วยทุก 2 ชั่วโมงเพื่อป้องกันแผลกดทับ (bed sores) ที่ก้น หลัง ข้อต่าง ๆ
    ให้อาหารและน้ำให้เพียงพอ บางรายอาจต้องป้อนทางสายยาง (ที่ใส่ผ่านจมูกหรือหน้าท้องเข้าไปที่กระเพาะอาหาร) ถ้าขาดน้ำ ผู้ป่วยจะซึม หรืออาการเลวลง ระมัดระวังในการป้อนอาหารแก่ผู้ป่วย อย่าให้สำลัก
    ถ้ามีสายสวนปัสสาวะ หรือสายป้อนอาหาร ควรดูแลให้สะอาดปลอดภัย และคอยเปลี่ยนสายใหม่ตามคำแนะนำของแพทย์/พยาบาล

ควรกลับไปพบแพทย์ก่อนนัด ถ้ามีลักษณะข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้

    มีไข้สูง หนาวสั่น ท้องเดิน อาเจียน ปัสสาวะขุ่นหรือมีเลือดปน
    ปวดศีรษะรุนแรง สับสน ซึม ไม่ค่อยรู้สึกตัว ชัก หรือหายใจหอบหรือลำบาก
    กินอาหาร หรือดื่มน้ำได้น้อย
    มีแผลกดทับเกิดขึ้น
    ยาหาย ขาดยา หรือมีอาการที่สงสัยว่าเป็นผลข้างเคียงจากยาหรือแพ้ยา เช่น มีลมพิษ ผื่นคัน ตุ่มพุพอง ตาบวม ปากบวม คลื่นไส้ อาเจียน เป็นต้น
    มีความวิตกกังวล


การป้องกัน

    งดสูบบุหรี่ หลีกเลี่ยงการดื่มแอลกอฮอล์จัด ลดเกลือและน้ำตาล ลดอาหารที่มีไขมันมาก ลดน้ำหนัก (ถ้าอ้วน) และหมั่นออกกำลังกายเป็นประจำ เพื่อป้องกันมิให้มีภาวะหลอดเลือดแดงแข็งเร็ว
    ตรวจเช็กความดันโลหิต เบาหวาน ภาวะไขมันในเลือด ถ้ามีภาวะผิดปกติควรรักษาอย่างจริงจังและต่อเนื่อง เมื่อควบคุมโรคเหล่านี้ได้ ก็จะลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
    ถ้ามีภาวะหยุดหายใจขณะหลับ ควรทำการรักษา รวมทั้งควบคุมปัจจัยเสี่ยงและภาวะแทรกซ้อนของภาวะนี้ (เช่น ภาวะอ้วน ความดันโลหิตสูง เบาหวาน) เพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง
    ถ้าเคยมีอาการแขนขาอ่อนแรงชั่วคราวจากสมองขาดเลือดชั่วขณะ (TIA) ควรรีบปรึกษาแพทย์ ดูแลรักษาและกินยาตามที่แพทย์แนะนำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดโรคสโตรกจากลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดสมอง
    ผู้ป่วยที่เป็นโรคหัวใจ เช่น โรคหัวใจรูมาติก ผู้ป่วยผ่าตัดใส่ลิ้นหัวใจเทียม หัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย เป็นต้น ควรดูแลรักษา และกินยาแอสไพรินหรือยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือดตามที่แพทย์แนะนำอย่างสม่ำเสมอ เพื่อป้องกันมิให้เกิดลิ่มเลือดที่หัวใจแล้วหลุดลอยไปอุดตันในหลอดเลือดสมอง


ข้อแนะนำ

1. โรคสมองขาดเลือดชั่วขณะ (TIA) ซึ่งจะมีอาการเพียงระยะสั้น ๆ แล้วหายไปได้เองตั้งแต่ที่บ้านหรือระหว่างเดินทางไปโรงพยาบาล อาจทำให้ผู้ป่วยและญาติคิดว่าไม่เป็นไร และชะล่าใจไม่ไปตรวจรักษากับแพทย์ ผู้ป่วยมีโอกาสสูงที่จะเกิดอาการกำเริบใหม่ หรือกลายเป็นโรคสโตรกในเวลาต่อมาได้ ดังนั้นหากมีอาการของโรคหลอดเลือดสมอง ก็ควรไปโรงพยาบาลโดยเร็ว เพื่อทำการบำบัดรักษาให้ปลอดภัยและไม่กลายเป็นคนพิการ

2. โรคนี้มักเป็นเรื้อรัง บางรายอาจฟื้นตัวได้เร็วและช่วยตัวเองได้ บางรายอาจฟื้นตัวช้า หรือพิการตลอดไป แต่สติปัญญาของผู้ป่วยส่วนมากยังดีเช่นปกติ ญาติควรแสดงความเห็นอกเห็นใจ พูดคุย ให้กำลังใจผู้ป่วย และให้ทำกิจกรรมต่าง ๆ (การอ่านหนังสือ เขียนหนังสือ งานอดิเรก การออกสังคม) เท่าที่ร่างกายจะอำนวย เพื่อฝึกสมองและสร้างคุณค่าในตัวผู้ป่วย

3. สำหรับผู้ที่ร่างกายฟื้นตัวเป็นปกติหรือมีอาการอ่อนแรงเพียงเล็กน้อยซึ่งสามารถเคลื่อนไหวร่างกายได้ดีแล้ว สามารถทำงานและดำเนินชีวิตได้ตามปกติ ซึ่งอาจต้องมีคนคอยร่วมเดินทางไปด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยก็ยังต้องดูแลรักษาตัวเองและติดตามรักษากับแพทย์อย่างต่อเนื่อง และคอยเฝ้าระวังอาการที่อาจกำเริบขึ้นได้

หน้า: [1] 2 3 ... 21